Page 30 - ทางรถไฟทหาร
P. 30
4-5
ตัวอย่างที่ 4.1 การคำนวณหาค่าส่วนต่างๆ ของโค้ง
ี่
ในการสำรวจทางเบื้องต้นของการสร้างทางรถไฟสายหนึ่ง ได้ทราบว่าแนวทางทได้จำเป็นจะต้องใช้โค้ง
เข้าช่วย เพื่อเปลี่ยนทิศทางของแนวทางนี้ มีมุมสกัด (I ) เท่ากับ 44 องศา 28 ลิบดา และทางเจ้าหน้าที่ที่ได้
ทำการสำรวจครั้งนั้นได้แนะนำไว้ว่า ควรใช้รัศมีโค้ง ณ ตำบลนี้เท่ากับ 398 เมตร จงหาความยาวของเส้นสัมผัส
ื่
เพื่อจะได้กำหนดจุดต้นโค้ง และหาระยะนอกโค้ง เพอกำหนดจุดยอดโค้งได้ต่อไป
วิธีทำ
I
(1) การหาความยาวของเส้นสัมผัส T = R tan 2
= 398 tan (44 ํ28’ / 2)
ํ
= 398 tan 22 14’
= 398 x 0.4088 = 162.702 ม.
I
(2) การหาระยะนอกโค้ง E = R ( sec 2 - 1 )
= 398 (sec 22 ํ14’ – 1)
= 398 [ (1 / cos 22 ํ14’) – 1 ]
= 398 [ (1/0.9257) – 1 ] = 31.945 ม.
ตัวอย่างที่ 4.2 การคำนวณหาค่าส่วนต่างๆ ของโค้ง
จากการสำรวจทางเบื้องต้น เราทราบว่าแนวทางรถไฟที่จะทำการสร้างจำเป็นต้องเปลี่ยนทิศทางของ
แนวทางไป ณ ที่แห่งหนึ่งโดยมีตำบลของจุดสกัดอยู่ที่สถานี กม. 155 + 053.700 มีมุมสกัดเท่ากับ 40 ํ36’
และโค้ง ณ ตำบลนี้จะต้องใช้รัศมีเท่ากับ 439 เมตร จงหาสถานีของจุดต้นโค้ง และสถานีของจุดปลายโค้ง ว่า
จะต้องเป็นสถานีเท่าใด
วิธีทำ
I
(1) หาระยะเส้นสัมผัส T = R tan 2
= 439 tan (40 ํ36’ / 2)
= 439 tan 20 ํ18’ 20 - 18
= 439 x 0.3699 = 162.386 ม.
(2) หาตำแหน่งจุด PC = PI - T
= (155 + 053.700) - 162.386 = 154 + 891.314
RI
(3) หาความยาวโค้ง L = ¶ 180
= (3.1428 x 439 x 40 ํ36’) / 180
= (3.1428 x 439 x 40.6 ํ) / 180 = 311.078 ม.
(4) หาตำแหน่งจุด PT = PC + L
= (154 + 891.314 ) + 311.078 = 155 + 202.392