Page 35 - ทางรถไฟทหาร
P. 35
4-10
8.4 ความยาวของโค้ง (Length of Curve)
ความยาวของโค้งทางดิ่งระหว่างสถานีทั้งสอง จะหาได้โดยใช้สูตร และหาผลลัพธ์เป็นเลขที่ไม่
ลงตัวแล้วให้ใช้เลขที่มีค่าสูงขึ้นไปที่ลงตัว เช่นได้ผลลัพธ์เป็น 6.3 ก็จะต้องใช้ 7 แล้วคูณด้วย 20 ม. เป็นต้น ทั้งนี้
ื่
เพอให้โค้งที่วางได้ Symmetry กันทั้งสองข้างจากจุดสกัด (P.V.I.)
8.5 การกรุยโค้งทางดิ่ง
การกรุยโค้งทางดิ่งที่ใช้โค้งแว่นไฟนี้ เราจำเป็นต้องคำนวณหาระยะตั้งได้ฉากจากเส้นสัมผัส
มายังโค้งให้ได้ระยะนี้เรียกว่า offset ซึ่งทั้งนี้ในทางปฏิบัติขอให้สูตรสำหรับการคำนวณไว้พอที่จะใช้สำหรับทำ
การกรุยโค้งหรือเขียนโค้งลงได้ต่อไป ข้อสำคัญที่จำเป็นจะต้องทราบ ได้แก่
8.5.1 อาการลาดของแนวทางทั้งสอง
8.5.2 ระดับของจุดต้นโค้งและปลายโค้ง (Elevation)
8.5.3 ระดับของจุดสกัด
8.5.4 สถานีของจุดสกัดว่าอยู่ที่สถานีเท่าใดหรือทราบสถานีของจุดต้นโค้งและปลายโค้ง
แล้วเราจึงจะคำนวณหาสิ่งต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ
8.6 การคำนวณโค้งทางดิ่ง
เพื่อให้เข้าใจง่ายขอให้พิจารณาตัวอย่างโค้งทางดิ่ง ตามรูปที่ 4.4 ต่อไปนี้
รูปที่4.4 ตัวอย่างการวางโค้งแนวดิ่ง
L/2 V
l A B
3
3
3
l A B
2
2
2
l A O B
1 1 O 3 1
2
O 1
1
A D B
g = L g =
2
1
2%
1%