Page 36 - ทางรถไฟทหาร
P. 36

4-11

                       จากรูปที่ 4.4 จะแบ่งโค้งทางดิ่งออกเป็น ส่วนเท่า ๆ กันตามแนวเส้นตรงของชยา (ทั้งนี้ควร


               แบ่งให้เป็นจำนวนคู่ เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณ) จากรูป จะได้ว่า
                              อาการลาดของแนวทาง AV เป็น g
                                                          1
                              อาการลาดของแนวทาง VB เป็น g
                                                          2
                              L เป็นความยาวของแต่ละช่องของชยาที่แบ่งแล้ว

                              O , O , O , … เป็นระยะ Offsets  ที่ต้องคำนวณหาจากความสัมพันธ์ของโค้งแว่นไฟ โดย
                                      3
                                   2
                               1
                                                   O  = 2  x O
                                                          2
                                                               1
                                                     2
                                                          2
                                                   O   = 3  x O
                                                               1
                                                     3
                                                   O   = 4  x O
                                                          2
                                                     4
                                                               1
                              หรือกล่าวทั่วไปได้ว่า    O   = N  x O
                                                          2
                                                     N
                                                               1
                              ส่วนค่าของ  O   จะหาได้จากสูตร  O   =   C (g - g ) / 2n
                                                                     1
                                                            1
                                          1
                                                                         2
                              แต่เมื่อทราบแล้วว่าโดยทั่วไป จะใช้ระยะ 20 เมตร โดยตลอด ( C = 20 ) จะได้
                                                   O   = 10 (g - g ) / n        (g  และ g  ต้องเป็น% เสมอ)
                                                                                  1
                                                                                        2
                                                                 2
                                                     1
                                                              1
                       เมื่อเราหาค่าของ Offsets ณ ตำบลต่างๆ ได้แล้ว และเมื่อเราทราบระดับของจุดต่าง ๆ ที่
               ตรงกันบนเส้นสัมผัสของโค้งทางดิ่งแล้ว เราก็จะหาระดับของจุดต่างๆ ที่บนโค้งซึ่งตรงกันกับจุดที่แบ่งชยา
               ออกเป็นส่วนๆ นั้นด้วย นั่นคือเราก็จะกรุยโค้งทางดิ่งได้
               ตัวอย่างที่ 4.4  การคำนวณโค้งทางดิ่ง
                      แนวทางรถไฟตอนหนึ่งต้องขึ้นลาด 1% และลงลาด 2% ให้วางโค้งทางดิ่งเพื่อเปลี่ยนอาการลาดใช้
               อัตราความเปลี่ยนแปลงไม่เกน 0.4% ต่อความยาว 20 เมตร จุด PVI อยู่ที่สถานี กม. 15 + 268.520 และมี
                                       ิ
               ระยะทางสูง (ELEV) 60.40 ม. จงหาความสูงของจุดต่าง ๆ บนเส้นสัมผัส และบนโค้ง รวมทั้งหาสถานีของจุด
               PVC และ PVT
               วิธีทำ

               (1) หาผลต่างของลาด  A        = g  - g 2    = 1 - ( - 2 )   = 3%
                                               1
                                               A              3
               (2) หาจำนวนช่องแบ่ง  N       =  R          =  0 4.        = 7.5  ใช้ 8

               (3) หาความยาวทั้งหมด  L      = 8 x 20                     = 160 ม.
               (4) หาระยะ offset     O      = 10 (g  - g ) / n
                                                   1
                                      1
                                            = 10 [1% - ( - 2%) ] / 8

                                            = 10 (3/100) / 8             = 0.0375 ม.
                                               2
                                     O      = 2  x O      = 4 x 0.0375   = 0.150  ม.
                                      2
                                                    1
                                     O      = 3  x O      = 9 x 0.0375   = 0.3375  ม.
                                               2
                                                    1
                                      3
                                     O      = 4  x O      = 16 x 0.0375  = 0.6 ม.
                                               2
                                                    1
                                      4

               (5) หาระดับที่จุด A (PVC)      = ระดับทPVI - (%ลาดขึ้น x ระยะจาก PVI ถึง PVC)
                                                    ี่
                                                        1
                                            = 60.40 - (  100   x 80 )     =  59.60  ม.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41