Page 29 - ทางรถไฟทหาร
P. 29
4-4
4. สูตร สำหรับ โค้งสามัญ
เนื่องจาก มุม I = มุม P.I. P.C. P.T. + มุม P.I. P.T. P.C.
= 2 x มุม P.I. P.C. P.T.
I
ดังนั้น มุม P.I. P.C. P.T. =
2
I
4.1 ระยะเส้นสัมผัส T = R tan ………………. (1)
2
จากสูตรที่ (1) นี้ หากทราบถงระยะเส้นสัมผัส จะหารัศมของโค้งได้ และ
ึ
ี
ถ้าทราบถึงรัศมีของโค้ง จะหาระยะเส้นสัมผัสได้
I
4.2 ชยายาว C = 2 R sin ………………. (2)
2
RI
RI
4.3 ความยาวของโค้ง L = 2 ¶ 360 = ¶ 180 ………………. (3)
จาก มุม P.I. P.C. O จะได้
R I
ÃÐÂÐP I O . = cos
.
2
I
R sec = ระยะ P.I. O
2
แต่ ระยะ P.I. O = R + E
I
R sec = R + E
2
I
I
หรือ E = R sec – R = R ( sec – 1 ) ………………. (4)
2
2
จากนี้จะเห็นว่า ถ้าทราบค่าของมุม I และค่าของ E จะหา R ได้ หรือ
ทราบค่าของ R และ I จะหาค่าของ E ได้
นั่นคือ จะสามารถหาตำแหน่งจุดกึ่งกลางของโค้งได้ จากสูตร (2)
ถ้าใช้ ชยามาตรฐาน = 20 ม. จะทำให้ C = 20 ม. และ มุมสกัด (I) = องศาของโค้ง (D)
I
จะได้ 20 = 2 R sin
2
I
D
R = 10 / sin = 10 / sin ………………. (5)
2
2
C
I
M = 2 tan 4 ………………. (6)