Page 103 - ทางและสนามบิน
P. 103

5-13

                              8.6.1 พื้นที่สำหรับการขึ้นลงของ ฮ.

                                     สามารถแบ่งได้ 4 ชนิดคือ

                                     8.6.1.1 พื้นที่ขึ้นลง (Helipads)

                                            ลักษณะการวางผังได้แสดงไว้ในรูป 5 - 5 ตัวเลขที่มีวงกลมล้อมรอบในรูป 5
               - 5 จะตรงกับรายการในตาราง 5 - 7 การใช้ตัวเลขในตารางจะให้ความสะดวกในการพิจารณาความต้องการ

               ขนาด สำหรับแต่ละ ฮ. ที่กำหนดออกแบบและพื้นที่การลงแต่ละชนิด ได้แก่ พื้นที่ข้างหน้า, พื้นที่สนับสนุนและ

               พื้นที่ข้างหลัง

                                     8.6.1.2 ท่าเฮลิคอปเตอร์

                                            พร้อมด้วยช่องทางขับลอยตัวในอากาศ (Heliport with  taxihoverlane)
               มีลักษณะคือมีที่จอด 2 ข้างของช่องทางขับลอยตัว, ฮ. ซึ่งปกติติดตั้งบนฐานล้อเลื่อน (Skid  mounted)  เข้าสู่

               ท่าและออกจากท่าโดยช่องทางขับลอยตัว

                                                               ิ่
                                     8.6.1.3 ท่า ฮ. พร้อมด้วยทางวง (Heliport  with  runways)
                                               ปกติติดตั้งในพื้นที่สนับสนุนหรือพื้นที่ข้างหลัง,สำหรับ ฮ.ลำเลียงที่หนักกว่า

                                     8.6.1.4 ท่า ฮ. กองพันผสม (Mixed  battalion  heliports)

                                            ขนาดไม่ได้มาตรฐานขึ้นอยู่กับจำนวนและขนาดของ ฮ. อาจมีท่า ฮ. ตั้ง
               รวมกันอยู่ได้แต่จะต้องออกแบบแยกกัน ปกติตั้งอยู่ในพื้นที่ สนับสนุนและพื้นที่ข้างหลังเท่านั้น


                              8.6.2 ความยาวของทางวิ่ง

                                     ความยาวของทางวิ่งสำหรับ ฮ. ทั้งหมดที่พิจารณา ณ ระดับน้ำทะเลและ 15C

               (59F) ได้แสดงไว้ในตางราง 5 - 8
                                     ทางวิ่งไม่ได้แสดงไว้ในแผนผังสำหรับ ฮ. ที่มีฐานแบบล้อเลื่อน (Skid - mounted)

               หรือ แบบล้อ  (Wheel - mounted) ในพื้นที่ข้างหน้า เนื่องจากช่องทางขับลอยตัวในอากาศได้ใช้  เพื่อการนี้
               อยู่แล้ว

                                     ความยาวของทางวิ่งจะต้องเพม 10% สำหรับทุก ๆ 305 เมตร      ที่มีระยะทางสูง
                                                             ิ่
               (Altitude) เกิน 305 เมตร

                                                             ิ่
                                     ส่วนอุณหภูมิก็ให้แก้ไขหรือเพมความยาวขึ้นอีก 4% สำหรับทุก ๆ 10C       ที่
               อุณหภูมิสูงเกิน 15C         โดยใช้อุณหภูมิเฉลี่ยของอุณหภูมิที่ร้อนที่สุดในช่วงเวลาการปฏิบัติการนั้น ๆ
               ความยาวทางวิ่งจะต้องไม่น้อยกว่าค่าน้อยที่สุดที่แสดงไวในตาราง  5 - 8


                              8.6.3 การวางแนวทางวิ่ง
                                                                                         ้
                                     ปกติทางวิ่งของท่า ฮ. จะต้องวางให้ได้แนวกับการพัดของลมในทองถิ่น   โดยถือหลัก
               ว่า ทางวิ่งจะต้องตั้งอยู่ในแนวที่ลมพัดให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้

                                     แนวทางของทางวิ่งที่กำหนดขึ้น จะต้องแน่ใจว่ามีลมปกคลุม 80% มีลำดับลมที่พัด
               ตั้งฉากกับทางวิ่ง มีความเร็วสูงสุดที่ยอมให้ได้เท่ากับ 13 ไมล์/ชั่วโมง (20.9 กม./ชม.) และถ้าให้ดีทางวิ่งควรทำ
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108