Page 102 - ทางและสนามบิน
P. 102

5-12

                                                                                                ุ
               ความแข็งแรงพอที่จะต้านทานการใช้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ ของหน่วยน้ำหนักมากที่สุด    ระยะวิ่งขึ้นอยู่กับอณหภูมิ
               ท้องถิ่น, ระยะทางสูงของผิวท่า ฮ.

                                     8.5.1.2 ข้อพิจารณาการปฏิบัติการ (Operational  consideration) เที่ยวบิน

               (น้ำหนักที่จะนำไปใช้เป็นตัน

                                            ใช้ประเมินค่าอายุของท่า ฮ. การออกแบบอายุเป็นตัวชี้บอก  ของจำนวน

                                                                                                     ั
               การรับน้ำหนักของผิวที่จะรับได้ จำนวนของ ฮ. ที่จะใช้      และน้ำหนักที่จะนำไปจะเป็นผลเกี่ยวกับทางขบ,ที่
               จอด,ที่จอดพื้นแข็งอื่นๆ ที่ต้องการ


                                     8.5.1.3 การลงผิว (Surfacing)
                                            เพื่อให้พื้นที่จราจรแข็งแรง        จะต้องมีการเอาดินออก,ทดแทนดินใหม่

               การบดทับและการลงผิวบิทูมินัส แต่ในความต้องการทางยุทธวิธี       ไม่อาจจะกระทำได้เพราะเวลามีน้อย

               อาจต้องใช้แผ่นปูทางล้อวิ่งแทน สำหรับมวลดินที่มีความแข็งแรงน้อย      ก็อาจต้องมีการปรับปรุงหรือเพม
                                                                                                     ิ่
               ความมั่นคงให้มากขึ้น ส่วนพื้นที่จารจรที่ไม่ลงผิว อาจใช้วัสดุในการกำจัดฝุ่นเพื่อความปลอดภัย    และลด

                                                                          ึ
               ปัญหาการซ่อมบำรุงและป้องกันการหาข่าวกรอง สำหรับท่า ฮ. ของข้าศก
                              8.5.2 ที่ตั้ง

                                     ความมากน้อยในการพัฒนาเกี่ยวกับการก่อสร้าง            ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับที่ตั้ง
                                                                                       ่
                                                                                                     ึ้
               เนื่องจากที่ตั้งของท่า ฮ. ใกล้กับขอบหน้าของพื้นที่การรบ การขจัดสิ่งที่ไม่จำเป็นในการกอสร้างจึงมีมากขน ใน
               พื้นที่ข้างหน้าลักษณะต่าง ๆ จะสะท้อนถึงความต้องการเร่งด่วนในการก่อสร้าง, อายุของท่า ฮ. สั้น, ส่วนพื้น

               ที่ตั้งในพื้นที่ข้างหน้าจะส่งผลในทางประณีตและสมบูรณ์มากกว่า

                              8.5.3 พื้นที่จราจร (Traffic  Area)

                                     ความยุ่งยากในงานส่งกำลังสนามบินเกี่ยวกับที่ตั้ง จะต้องแน่ใจว่าสามารถกระทำได้
               อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง ชิ้นส่วนซ่อมบำรุงเครื่องบิน วัสดุเพื่อหลีกเลี่ยงการรับน้ำหนักเต็มที่หรือ

               รับน้ำหนักเกิน จำนวน ฮ. ควรจำกัดปริมาณ 100 ถึง 150 หรือประมาณ 5 หรือ 6 กองร้อย    แต่ละกองร้อย
               หรือหน่วยเทียบเท่าจะเริ่มปฏิบัติการจากชานจอดรวม (Massparking  apron) หรือที่จอดแยกกระจาย ซึ่ง

               ตั้งอยู่หรือเป็นส่วนหนึ่งของสนามบินดังแสดงในรูป 5 - 1   พื้นที่จราจรจะถูกกำหนดขึ้นเพื่อเป็นผิวตามที่

               ต้องการอย่างเดียวกัน เช่น แผ่นรับน้ำหนักขนาดกลาง,ขนาดเบา เป็นต้น

                              8.5.4 การวางผัง

                                     ผังที่เป็นแบบฉบับของสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ พร้อมด้วยมิติที่ต้องการและ
               ช่องว่างด้านข้าง (Clearances) ของ ฮ. ที่กำหนด


                      8.6 การออกแบบ (DESIGN  CRITERIA)
                              ส่วนประกอบมูลฐานของท่า ฮ. ทราบได้จากตาราง 5 - 9      โดยยึดถือมูลฐานตามความ

               ต้องการ สำหรับบ. เฉพาะในตาราง 5 - 6      ส่วนและขนาดพื้นที่สำหรับแต่ละชนิดของที่ขึ้นลงแต่ละท่า ฮ. ได้

               แสดงไว้ในตาราง 5 - 7 ถึงตาราง 5 - 9
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107