Page 192 - เครื่องมือช่างชั้นต้น
P. 192
9-9
9.14.2.3 ตรวจเติมนํ้าในหม้อนํ้ารังผึ้ง ระดับตํ่ากว่าส่วนล่างของคอหม้อนํ้าประมาณ 2
ซม.
9.14.2.4 ตรวจระดับนํ้ามันไฮดรอลิก เมื่ออุณหภูมิตํ่า (ก่อนติดเครื่อง) ระดับอยู่ที่ ขีดดําบน
9.14.2.5 ตรวจระดับนํ้ามันเชื้อเพลิง ดูที่เครื่องวัด และเปิดฝาถัง
9.14.2.6 ตรวจสอบ ปั้ม และหม้อสุญญากาศ
9.14.2.7 อัดไขข้นสลักคานล้อหน้า (2 จุด) หน้า - หลัง
9.14.2.8 อัดไขข้นสลักคานล้อหลัง (2 จุด)
9.14.3 การปรนนิบัติบํารุงทุก 50 ชั่วโมง
9.14.3.1 ถ่ายนํ้าจากตัวกรองนํ้ามันเชื้อเพลิง (ตัวแรก)
9.14.3.2 ทําความสะอาดตัวกรองอากาศ
9.14.3.3 ตรวจระดับนํ้ามันหล่อลื่นในปั้มหัวฉีด
9.14.3.4 ปรับความตึงสายพานพัดลม (หย่อนประมาณ 1 เซนติเมตร)
9.14.3.5 อัดไขข้นบู๊ชหูกระบอกไฮดรอลิก (2จุด)
9.14.3.6 หล่อลื่นโซ่ขับและปรับความตึง (ใช้นํ้ามัน SAE.90 (GL-5) หยอด)
(ความหย่อนไม่เกิน 3/8 นิ้ว)
9.14.3.7 ตรวจระดับนํ้ามันเฟืองในห้องเฟืองเปลี่ยนความเร็ว, ห้องเฟืองท้ายและห้องเฟือง
โซ่ขับ
9.14.3.8 ตรวจระดับนํ้ามันห้ามล้อ
9.14.3.9 ตรวจความดันลมในยาง (ทุกล้อ, 9 ล้อ) 80-100 ปอนด์/ตารางนิ้ว (PSI.) หรือ
550 – 690 กิโลปาสคาล
9.14.3.10 ตรวจ, ขันให้แน่น น๊อตและสกรูต่าง ๆ ทุกระบบ
9.14.4 การปรนนิบัติบํารุงทุก 200 ชั่วโมง
9.14.4.1 เปลี่ยนนํ้ามันเครื่องในห้องเพลาข้อเหวี่ยง
9.14.4.2 เปลี่ยนตัวกรองนํ้ามันเครื่อง เมื่อใส่ตัวกรองตัวใหม่ ให้เอานํ้ามันเครื่องใหม่ใส่ใน
ตัวกรองให้เต็มก่อน
9.14.4.3 อัดไขข้น ที่เพลาส่งกําลัง (3 จุด)
9.14.5 การปรนนิบัติบํารุงทุก 1,000 ชั่วโมง
9.14.5.1 เปลี่ยนนํ้าที่ใช้ระบายความร้อน และเติมด้วยนํ้าสะอาด
9.14.5.2 เปลี่ยนนํ้ามันในห้องเฟืองเปลี่ยนความเร็ว, ห้องเฟืองท้าย และห้องเฟืองโซ่ขับ
(2 ห้อง)
9.14.5.3 อัดไขข้น ลูกปืน และสลักล้อ (2 จุด)