Page 94 - ทางและสนามบิน
P. 94
5-4
5.3 การวางผัง (Typical layouts)
- การวางผังสนามบินมูลฐาน (เว้นสนามบินติดต่อ) แสดงไว้ในรูป 5 - 1
- ผังสนามบินติดต่อแสดงไว้ในรูป 5 - 3
- ขนาดมิติที่ต้องการอย่างน้อยที่สุด ดูในตาราง 5 - 5
ตัวอย่างที่ 5.1 การหามิติของสนามบิน
ต้องการทราบมิติต่าง ๆ ของสนามบินลำเลียงขนาดกลางในพื้นที่สนับสนุน
วิธีทำ จากตาราง 5- 5 จะได้
ชั้นแรกให้ดูชนิดของสนามบินในช่องที่ 1 แล้วต่อไปอ่านตามแนวระดับ, จะได้มิติต่างๆ ที่ต้องการ
ค่าที่ได้วงกลมล้อมรอบไว้ ในรูป 5 - 1 และ 5 - 3 เป็นหมายเลขช่อง จากตาราง 5 - 5 ส่วนรูป 5 - 2 เป็น
ผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีการในรูป 5 - 1 และตาราง 5 - 5
6 ส่วนต่างๆ ของสนามบิน ประกอบด้วย
ทางวิ่ง, ทางขับ, ชานต่างๆ และที่จอดพื้นแข็ง ปกติส่วนที่กล่าวนี้ดาดผิวบนพื้นที่มั่นคง หรือพื้นฐาน
ทางที่บดทับแน่น, ไหล่และเขตถากถางหัวท้ายทางวิ่ง (Clear zone) ปกติสร้างโดยวัสดุที่มีอยู่ ณ ที่นั้น ส่วน
ี
เขตร่อนและเขตปลอดภัยทางข้าง (Lateral safety zone) ต้องถากถางและเอาเครื่องกดขวางออก ตามที่
จำกัดด้วยมุมร่อน ลักษณะของส่วนต่าง ๆ ได้กำหนดไว้ในรูป 5 - 2
6.1 ฐานทัพอากาศ (Air base)
คือสนามบินซึ่งมีสิ่งอำนวยความสะดวกสบายที่ใช้ในการปฏิบัติการ , ที่พัก และสิ่งอำนวย
ความสะดวกสำหรับการส่งกำลังและซ่อมเครื่องบิน
6.2 สนามบิน
คือกลุ่มของสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ กลุ่มหนึ่ง ที่ออกแบบขึ้นเพอใช้ในการวิ่งขึ้น - ลง
ื่
การบริการ, เติมน้ำมันเชื้อเพลิงและการจอด บ. ปีกติดลำตัวและ บ. ปีกหมุน
ุ
6.3 มมร่อน
คือมุมแนวดิ่งขนาดเล็ก, เป็นมุมยกขึ้นวัดจากปลายของแถบบิน, เหนือมุมร่อนจะต้องไม่มีสิ่ง
ุ
กีดขวางอยู่ในพื้นที่เขตร่อน มุมร่อนแสดงถึงมมก้มที่ปลอดภัยสำหรับ บ. ชนิดต่าง ๆ , แสดงค่าเป็นอัตราส่วน
เช่น 35 : 1
6.4 เขตร่อน
คือพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูที่มีต่อออกไปข้างนอกจากแต่ละปลายของแถบบิน ในเขตร่อน
จะต้องไม่มีวัสดุธรรมชาติหรือสร้างขึ้นโผล่เหนือมุมร่อน
6.5 ชานจอด
คือพื้นที่ที่เตรียมไว้เป็นพื้นแข็ง (Hardstand) สำหรับจอดเครื่องบิน
6.6 ชานอุ่นเครื่อง
คือพื้นที่ทมั่นคงหรือพื้นที่มีผิว, ใช้สำหรับอุ่นเครื่องของ บ. ปกติต้องอยู่ตรงปลายทั้งสอง
ี่
ข้างของทางวิ่งใกล้และขนานกับแกนตามยาว ซึ่งขนานกับทางขับที่ติดต่อกัน