Page 94 - คอนกรีต
P. 94
4-11
ี
คอนกรีตที่เทใหมนั้น จะมส่วนประกอบของฟองอากาศ หรือ
่
ี
เป็นช่องว่าง ซึ่งช่องว่างนี้ยิ่งมมากก าลังของคอนกรีตก็จะลดลงมากตาม
ี
ึ
ดังนั้น จงตองมการไล่ หรือลดฟองอากาศเหล่านี้ลง นี่คือการท าให ้
้
คอนกรีตแน่น ส าหรับคอนกรีตเสริมเหล็ก การท าใหคอนกรีตแน่นยัง
้
ิ
ช่วยใหคอนกรีตยึดกับผวเหล็กเสริมได้ดีขึ้น นอกจากนี้ ผวหน้าของ
้
ิ
คอนกรีตในชั้นที่เทลงก่อนจะประสานกับคอนกรีตที่เทลงไปในชั้นถัดไป
ี
ี
ี
่
ได้ดียิ่งขึ้นอกด้วย วิธการท าใหคอนกรีตแน่นกระท าได้หลายวิธ แตใน
้
ั
ี
ที่นี้จะขอกล่าวถึงวิธที่มกใช้กันในงานก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตเสริม
เหล็ก 2 วิธี คือ
5.3.1 การสั่นด้วยเครื่องสั่นคอนกรีต
เป็นวิธีที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ผลของการสั่นคือสามารถ
้
ก าจัดฟองอากาศได้ถึงครึ่งหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงใหคอนกรีต
ิ
ิ
ึ
่
้
แตจะท าใหเกิดรูพรุนที่ผวของคอนกรีต จงจาเป็นตองแตงผวคอนกรีต
่
้
นอกจากนี้ การใช้เครื่องสั่นคอนกรีตช่วยใหสามารถใช้คอนกรีตที่มี
้
อัตราส่วนน้ าต่อซีเมนต์ที่ต่ าได้ โดยที่ก าลังของคอนกรีตยังคงเท่าเดิม
ั
อย่างไรก็ตามการใช้เครื่องสั่นจะมผลท าใหอตราส่วนผสม
้
ี
้
ของคอนกรีตเปลี่ยนไป ดังนั้น การก าหนดส่วนผสมจะตองค านึงถึงการ
ใช้เครื่องสั่นด้วย โดยจะตองไมมน้ ามากเกินไป และตองมมอร์ตามาก
ี
ี
่
้
้
้
ี
ิ
้
พอเหมาะ หากมมากเกินไปมอร์ตาจะลอยขึ้นข้างบนและหนจะตกลง
่
ข้างล่างท าให้เกิดช่องว่าง หรือถ้ามีมอร์ต้าน้อยเกินไป หินส่วนบนจะไมม ี
มอร์ต้ามาช่วยท าให้หินยึดติดกัน
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องสั่นคอนกรีต คือ อย่าสั่นนาน
้
เกินควร หากใช้เครื่องสั่นนานเกินควร จะท าใหคอนกรีตเกิดการ
่
ี
์
่
แยกตัวได้ จากการทดลองพบว่า คอนกรีตทีมีอัตราส่วนน้ าตอซเมนตตา
ื่
ี
จะมก าลังสูงขึ้นเมอใช้เครื่องสั่นที่มความถี่ตา และใช้เวลาการสั่นสั้นลง
ี
่
ั
และระวังอย่าใหหวเครื่องสั่นกระทบถูกแบบหล่อและเหล็กเสริม เพราะ
้
อาจท าให้ แบบหล่อหรือเหล็กเสริมหลุดออกจากต าแหน่งก็ได้
5.3.2 การกระทุ้งด้วยเหล็ก
เป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปกับ การเทเสา หรือคาน ปกตจะใช้
ิ
่
ี
วิธนี้ในกรณีที่ไมสามารถใช้เครื่องสั่นได้ ข้อควรระวังในการกระทุ้ง