Page 92 - คอนกรีต
P. 92
4-9
ื่
่
้
5.1.5 เมอเริ่มเทคอนกรีตแล้ว ตองเทตดตอกันไปเรื่อยๆ จน
ิ
หมดช่วงหนึ่ง หรือตอนหนึ่ง
5.1.6 ตองท าใหคอนกรีตแน่นตวด้วยวิธที่เหมาะสม โดยให ้
ี
้
้
ั
คอนกรีตไหลเข้าไปทุกซอกทุกมุม และหุ้มเหล็กเสริมได้ตลอด
้
ั
5.1.7 ในกรณีที่การท าใหแน่นตวของคอนกรีตเป็นไปได้ยาก
้
ี
้
(เช่น เหล็กเสริมมระยะชิดกันมาก เป็นตน) จะตองเทมอร์ตา (ปูนซเมนต์
้
ี
ั
ทราย และน้ า) ที่มอตราส่วนผสมเดียวกับคอนกรีต ลงในแบบก่อน โดย
ี
ให้มีความหนาอย่างน้อย 3 ซม.
5.2 ลักษณะการเทคอนกรีต
การเทคอนกรีต จะสามารถแบ่งตามสภาพการเทได้ ดังต่อไปนี้
5.2.1 การเทคอนกรีตลงในแบบหล่อคอนกรีต
ควร “ วาง ” คอนกรีตให้ใกล้จุดหมายปลายทางมากที่สุด
และปล่อยคอนกรีตใหเตยที่สุด หากเป็นไปได้ใหเทลงตรง ๆ และการ
้
้
ี้
้
ปล่อยคอนกรีตควรระวังอย่าใหคอนกรีตกระทบกับส่วนที่เป็นแบบหล่อ
หรือเหล็กเสริม การเทตองกระท าอย่างตอเนื่อง และรวดเร็ว ควรเทจาก
่
้
ส่วนที่เป็นมุม หรือซอกก่อนแล้วค่อยถอยร่นออกมา
ส าหรับการเทคอนกรีตลงแบบที่ลึก เช่นแบบหล่อฐานราก
คาน หรือเสาของอาคาร ควรเทเป็นชั้นๆ โดยเทหนาไมเกิน 45 ซม. ใน
่
แต่ละชั้น การเทให้เริ่มเทจากล่างสุด หรือมุมของแบบก่อน แล้วเทเข้าหา
ศูนย์กลาง ในแต่ละชั้นที่เทต้องระวังอย่าให้ชั้นล่างแข็งตัวก่อน คอนกรีต
ที่ใช้เทในชั้นบนๆ ควรข้นขึ้นเป็นล าดับ เพื่อช่วยแก้ปัญหาน้ าปูนลอยบน
หน้าคอนกรีต
5.2.2 การเทคอนกรีตในแนวระดับ
การเทคอนกรีตลักษณะนี้ ได้แก่ การเทพื้นคอนกรีต
ุ
้
หลักการเทจะเหมอนกับการเทลงแบบหล่อ คือเทใหใกล้จดหมายมาก
ื
้
ี้
ึ
่
ที่สุด และเทใหเตยที่สุด แตเนื่องจากพื้นที่ที่เทจะกว้างจงควรเตรียม
้
้
ื
เครื่องมอที่จะช่วยใหสามารถส่งคอนกรีตใหใกล้จดหมายมากที่สุดเช่น
ุ