Page 96 - คอนกรีต
P. 96
4-13
้
้
ระวังคือ ตองฉีดน้ าใหทั่วถึงทุกส่วนของคอนกรีต และแรงดันน้ าตองไม ่
้
ี
ี
ิ
่
้
แรงเกินไปจนชะเอาผวหน้าคอนกรีตที่ยังไมแข็งตวดีออก วิธนี้ตอง
สิ้นเปลืองน้ ามาก และต้องอาศัยที่ที่มีแรงดันน้ ามากพอ
6.1.1.3 การคลุมด้วยวัสดุเปียกชื้น
เป็นวิธที่ใช้กันมาก เพราะสะดวก ประหยัด และ
ี
สามารถใช้ได้กับงานทั้งแนวระดับ แนวดิ่ง และแนวเอยง วัสดุที่ใช้คลุม
ี
ื่
อาจจะใช้ ผาใบ กระสอบ หรือวัสดุอนที่อมน้ า ข้อควรระวังคือ วัสดุที่
้
้
้
้
คลุมตองเปียกชุ่มอยู่เสมอ การคลุมตองคลุมใหวัสดุคลุมเหลื่อมกัน วัสดุ
ที่ใช้คลุมตองปราศจากสารที่เป็นอนตรายตอคอนกรีต หรือท าให ้
้
ั
่
คอนกรีตด่าง ส าหรับการคลุมงานคอนกรีตในแนวดิ่ง ตองยึดวัสดุคลุม
้
้
่
ึ่
ใหแน่นหนา ไมเลื่อนหล่นลงมาได้ โดยเฉพาะเวลาที่ราดน้ า ซงจะตอง
้
ท าเป็นประจ า
6.1.2 การบ่มโดยการป้องกันการเสียน้ าจากเนื้อคอนกรีต
ิ
ิ
วิธการนี้ใช้การผนึกผวของคอนกรีต เพื่อป้องกันมให ้
ี
ความชื้นจากคอนกรีตระเหยออกจากเนื้อคอนกรีต การบ่มลักษณะนี้
สามารถกระท าได้หลายวิธีดังนี้
6.1.2.1 การบ่มในแบบหล่อ
้
แบบหล่อไมที่เปียก และแบบหล่อเหล็ก สามารถ
ั
ี
ป้องกันการสูญเสียความชื้นได้ดี วิธนี้จดได้ว่าง่ายที่สุด เพียงแค่ทิ้งแบบ
หล่อให้อยู่กับคอนกรีตที่หล่อไว้ใหนานที่สุดเท่าที่จะท าได้ และคอยดูแล
้
ี
้
ใหผวด้านบนคอนกรีตมน้ าอยู่ โดยน้ านั้นสามารถไหลซมลงมาระหว่าง
ิ
ึ
แบบหล่อกับคอนกรีตได้
6.1.2.2 การใช้กระดาษกันน้ าซึม
ิ
ึ
เป็นการใช้กระดาษกันน้ าซมปิดทับผวคอนกรีตให ้
ี
สนิทอย่างน้อย 3 วัน วิธนี้มกนิยมใช้กับงานคอนกรีตแนวระดับ
ั
ึ
ิ
กระดาษกันน้ าซมนี้เป็นกระดาษเหนียวสองชั้นยึดตดกันด้วยยางมะตอย
และเสริมความเหนียวด้วยใยแก้ว มีคุณสมบัติในการยึดหดตัวไม่มากนัก
เวลาที่เปียก และแห้ง ข้อควรระวังในการใช้กระดาษ คือ บริเวณรอยตอ
่
้
้
ระหว่างแผ่น จะตองผนึกใหแน่นด้วยกาว หรือเทป และกระดาษตองไม ่
้
มีร่อยรอยฉีกขาด หรือช ารุด