Page 99 - คอนกรีต
P. 99
5-1
บทที่ 5
เหล็กเสริมคอนกรีต
1. เหล็กเสริมคอนกรีต
่
ี
เนื่องจากความต้านทานของคอนกรีตตอแรงดึง มเพียง 10 % ของ
ความต้านทานต่อแรงอัด เท่านั้น
่
ึ
ุ
่
ล าพังคอนกรีตเองจงไมสามารถรับแรงดึงได้สูง แตโดยเหตที่เหล็กเป็น
ั
ี
ี
ิ์
วัสดุที่ต้านทานต่อแรงดึงได้ดี อกทั้งมสัมประสิทธการยึดหดตวเท่า ๆ กับ
คอนกรีต ดังนั้น การใช้เหล็กเส้นหรือเหล็กท่อนร่วมกับคอนกรีต โดย
ั
้
หล่ออยู่ในเนื้อคอนกรีตในลักษณะที่ใหคอนกรีตรับแรงอด และเหล็กรับ
แรงดึง จงได้ผลดี การที่ใช้เหล็กเสริมร่วมกับคอนกรีตในลักษณะ
ึ
ดังกล่าว เรียกว่า คอนกรีตเสริมเหล็ก การใช้คอนกรีตหอหมเหล็กนี้ จะ
ุ้
่
่
ุ
้
ท าใหเหล็กทนทานตอความร้อน และป้องกันการเป็นสนิมผกร่อนได้ดี
้
่
ช่วยใหเหล็กมความตานทานตอแรงดึงได้เตมที่ ดังนั้น คอนกรีตเสริม
็
ี
้
ึ
่
่
้
ี
เหล็กจงมความตานทานตอแรงตาง ๆ ที่กระท าได้ดีกว่าคอนกรีตล้วน
เพียงอย่างเดียว
เหล็กเสริมคอนกรีตที่ใช้กันอยู่ตามธรรมดาทั่วไปเป็นเหล็กกล้า
ี
ละมน (mild steel) รีดร้อน มหน้าตดกลมเรียบ และเป็นเส้นตรง มความ
ั
ุ
ี
ยาวมาตรฐาน 10 และ 12 เมตร ส าหรับความยาวอื่นที่ไม่ได้มาตรฐาน
้
(7, 8, 9 เมตร) อาจสั่งโรงงานท าได้ หากตองการเป็นจานวนมาก การ
ซื้อขายคิดเป็นกิโลกรัมหรือตัน ไม่ควร
ใช้เหล็กเสริมที่มีขนาดตากว่า 8 มม. เว้นแตเหล็กปลอก หรือเหล็กลูกตง
่
ั้
่
ทั้งนี้เพราะ เหล็กขนาดเล็กมีราคา
แพงกว่าเมื่อคิดตามน้ าหนัก
เพื่อให้เหล็กเสริมมีก าลังรับแรงดึงได้ดีจ าเป็นต้องมการยึดเหนี่ยวที่
ี
ั
ดีระหว่างคอนกรีตกับเหล็กเสริมในสมยก่อนเหล็กท่อน หรือเหล็กเส้นม ี
ี
หน้าตดกลมเรียบหรือสี่เหลี่ยม ซงมแรงยึดเหนี่ยวระหว่างคอนกรีตกับ
ั
ึ่
่
เหล็กไมดีเท่าที่ควร ท าใหเหล็กเสริมไมสามารถรับแรงดึงได้ดีเท่าที่
่
้
คาดหมายไว้ ในปัจจุบันจึงได้มีการผลิตเหล็กข้ออ้อยซึ่งมีปล้องหรือครีบ