Page 95 - คอนกรีต
P. 95
4-12
้
คือ ตองระวังอย่ากระทุ้งถูกแบบหล่อ หรือเหล็กเสริม เพราะอาจท าให้
แบบหล่อ หรือเหล็กเสริมหลุดออกจากตาแหน่งก็ได้ และควรควบคุมให ้
กระทุ้งคอนกรีตให้ได้ทั่วถึงกันโดยตลอด
6. การบ่มคอนกรีต
้
การบ่มคอนกรีต เป็นการควบคุม และป้องกันมใหน้ าในคอนกรีต
ิ
ั
ระเหยออกจากคอนกรีตที่แข็งตวแล้วเร็วเกินไป เนื่องจากน้ าเป็น
่
ึ่
องค์ประกอบส าคัญที่สุดส าหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ซงจะส่งผลตอก าลัง
ั
ของคอนกรีตโดยตรง ดังนั้น หลังจากที่ผวหน้าคอนกรีตแข็งตวแล้ว
ิ
จะต้องบ่มคอนกรีต ให้มีความชื้นอยู่เสมอเป็นเวลาอย่างน้อย 7 วัน ก าลัง
ี
ของคอนกรีตจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตราบเท่าที่ยังมความชื้นให ้
ปูนซีเมนต์ได้ท าปฏิกิริยากับน้ า
6.1 วิธีการบ่มคอนกรีต
วิธการบ่ม ขึ้นอยู่กับสภาพของงานคอนกรีตนั้น ๆ เป็นหลัก
ี
ลักษณะของการบ่มคอนกรีตสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ การเพิ่ม
ความชื้นใหคอนกรีต การป้องกันการเสียน้ าของคอนกรีต และการเร่ง
้
ก าลัง
6.1.1 การบ่มโดยการเพิ่มความชื้นให้คอนกรีต
การบ่มลักษณะนี้ จะเพิ่มความชื้นใหกับผวคอนกรีต
ิ
้
โดยตรง เพื่อทดแทนการระเหยของน้ าออกจากคอนกรีต การบ่มลักษณะ
นี้สามารท าได้หลายวิธี ดังต่อไปนี้
6.1.1.1 การขัง หรือหล่อน้ า
้
ั
้
เป็นการท านบกั้นน้ าไมใหน้ าไหลออก มกจะใช้กับ
งานทางระดับ เช่น พื้น หรือถนน เป็นตน วัสดุที่ใช้ท าท านบอาจจะเป็น
้
้
ดินเหนียว หรืออฐก็ได้ ข้อควรระวังส าหรับวิธนี้คือ ตองระวังอย่าให ้
ิ
ี
้
ท านบกั้นน้ าพัง และหลังจากบ่มเสร็จแล้วอาจจะตองท าความสะอาด
ผิวหน้าคอนกรีต
6.1.1.2 การฉีดน้ า หรือรดน้ า
ี
ิ
เป็นการฉีดน้ าใหผวคอนกรีตเปียกอยู่เสมอ วิธนี้
้
ี
ใช้ได้กับงานคอนกรีต ทั้งในแนวดิ่ง แนวระดับ หรือแนวเอยง ข้อควร