Page 90 - คอนกรีต
P. 90
4-7
4. การขนส่งคอนกรีต
ุ
การขนส่งคอนกรีตจากจดที่ผสมคอนกรีตไปยังจดที่จะเท ตอง
ุ
้
่
้
กระท าในลักษณะที่ท าใหคอนกรีตยังคงสภาพสมาเสมอ และเสียค่า
ยุบตัวน้อยที่สุด
4.1 ข้อก าหนดของ ว.ส.ท. ในเรื่องของการขนส่งคอนกรีต
้
ุ
4.1.1 คอนกรีตที่ขนส่งจากเครื่องผสมไปยังจดที่จะเท ตอง
ขนส่งด้วยวิธีที่มีการป้องกันมิให้คอนกรีตแยกตัว หรือหกรั่ว
4.1.2 เครื่องมอที่ใช้ขนส่งคอนกรีต จะตองมประสิทธภาพดี
ื
้
ี
ิ
่
ั
โดยไมท าใหส่วนผสมของคอนกรีตแยกตว และเสียจงหวะในการเท
ั
้
จนกระทั่งคอนกรีตสูญเสียแรงเกาะกันระหว่างคอนกรีตที่เทต่อเนื่องกัน
4.2 วิธีการขนส่งคอนกรีต
ี
วิธการขนส่งคอนกรีต จะขึ้นอยู่กับลักษณะงาน และพื้นที่
ท างาน วิธีที่ใช้กันส่วนใหญ่ ได้แก่
4.2.1 การใช้ถัง หรือรถเข็นปูน
ี
การใช้ถังจะสามารถใช้ได้กับงานที่มจดเท และจดผสมอยู่
ุ
ุ
่
ตางระดับกัน ส าหรับการใช้รถเข็นปูน จะใช้ได้กับงานในแนวระดับ วิธ ี
ทั้งสองจะตองสิ้นเปลืองแรงงานมาก และไมควรใช้ในกรณีที่ระยะทาง
่
้
ขนส่งไกลๆ เพราะคอนกรีตจะมีโอกาสเกิดการแยกตัวได้สูง
4.2.2 การใช้รางปูน
ุ
ี
่
ุ
วิธนี้เหมาะส าหรับงานที่มจดเทอยู่ตากว่าจดผสมมาก ๆ
ี
่
้
ั
่
้
คอนกรีตที่ใช้จะตองไมแหงจนไหลไมสะดวก หรือเปียกจะน้ าแยกตว
ออกจากส่วนที่เป็นของแข็ง หากรางมีความยาวมาก ๆ อาจท าชั้นพักเป็น
ชั้น ๆ ใหคอนกรีตคงสภาพสมาเสมอได้ และควรมสิ่งปกคลุม เพื่อ
ี
้
่
ป้องกันการระเหยของน้ าในคอนกรีตระหว่างการขนส่ง
4.2.3 การใช้สายพานส่ง
้
วิธนี้จะใช้กับงานในทุกสภาพ สิ่งที่ตองระวังคือการระเหย
ี
ุ
ั
ของน้ าในคอนกรีตและการแยกตวของคอนกรีตอาจเกิดขึ้น ณ จด
เปลี่ยนของสายพานได้