Page 91 - คอนกรีต
P. 91
4-8
4.2.4 การใช้ท่ออัดส่ง หรือฉีด
ี
วิธีนี้เหมาะกับงานขนาดใหญ่ สิ่งที่ต้องระวัง คือ วิธนี้จะท า
ึ
ั
ให้มีการสูญเสียน้ าขณะฉีด หรือพ่นมาก อตราส่วนผสมคอนกรีตจงตอง
้
มีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ และน้ ามากกว่าปกติ ท าให้สิ้นเปลืองมากกว่า
5. การเทคอนกรีต
ั
การเทคอนกรีต อนที่จริงแล้วจะหมายถึง “ การวางลงในที่ ”
(Placing) มากกว่า การเท เพราะเป็นการเทที่ท าให้คอนกรีตไหลในแบบ
ุ่
และเกิดการรวมตัวกันเป็นเนื้อเดียว การเทคอนกรีต มีจุดมงหมายเพื่อให ้
ี
ุ้
็
้
คอนกรีตไหลใหเตมแบบ และหมเหล็กเสริมคอนกรีต (ถ้าม) โดยทั่วถึง
่
้
่
ตลอด โดยที่คอนกรีตจะตองคงสภาพสมาเสมอ ไมเกิดการแยกตว ใน
ั
ี
ั
่
้
้
ขณะเดียวกันจะตองท าใหคอนกรีตแน่นตว ไมมช่องว่างหรือรูพรุน
นอกจากนี้การเทจะต้องไม่ท าให้แบบหล่อ และเหล็กเสริมเคลื่อนออกจาก
ต าแหน่ง
5.1 ข้อก าหนดของ ว.ส.ท. ในเรื่องของเทคอนกรีต
ุ
้
้
5.1.1 ตองเทคอนกรีตใหใกล้จดหมายมากที่สุดเท่าที่จะท าได้
เพื่อป้องกันการแยกตัวจากการขนส่ง หรือการไหลของคอนกรีต
5.1.2 การเทต้องกระท าในขณะที่คอนกรีตยังไม่ก่อตัว
5.1.3 คอนกรีตที่เทตองสามารถไหลไปตามช่องว่างระหว่าง
้
เหล็กเสริมได้
5.1.4 การเทคอนกรีตโครงสร้าง หามใช้คอนกรีตที่แข็งตวแล้ว
ั
้
ื่
แมเพียงบางส่วน หรือคอนกรีตที่มวัสดุอนปะปน หรือคอนกรีตที่ท าให ้
ี
้
เหลวใหม่ หรือคอนกรีตที่ผสมซ้ าหลังจากผ่านการก่อตัวครั้งแรกแล้ว