Page 89 - คอนกรีต
P. 89
4-6
คุณภาพของคอนกรีต เพราะหินจะเกิดการบดตัวกันเอง ท าใหมวัสดุมวล
้
ี
้
ละเอียดเพิ่มมากขึ้น และเกิดความร้อนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลทั้งสองท าใหค่า
ยุบตัวของคอนกรีตลดลง ท าให้ต้องเพิ่มปริมาณน้ าในส่วนผสม
ฉะนั้น เพื่อให้ได้คอนกรีตที่มีคุณภาพ ควรจะจับเวลาการ
้
้
ผสมคอนกรีต โดยเวลาที่ใช้ในการผสม ใหคิดถึงระยะเวลาที่ตองใช้ใน
การเทคอนกรีตออกจากเครื่องผสมด้วย สิ่งที่ควรจ าไว้ คือ วัสดุมวลรวม
ี
ที่มขนาดใหญ่ จะใช้เวลาในการผสมคอนกรีตน้อยกว่าวัสดุมวลรวมที่ม ี
ขนาดเล็กกว่า และการผสมคอนกรีตในปริมาณที่มากกว่า จะใช้เวลา
มากกว่า
3.2.2 ความเร็วรอบในการหมุนของโม่
่
่
จากการทดลองพบว่าความเร็วรอบของโมผสม จะมผลตอ
ี
่
ุ
ความแข็งแรงของคอนกรีต ถ้าผสมโดยโมหมนเร็ว ความแข็งแรงจะ
่
มากกว่าโมที่หมนช้ากว่า ในการผสมคอนกรีตแตละครั้ง ความเร็ว
ุ
่
่
่
ุ
ิ
รอบในการหมนของโมจะแตกตางกันไปตามประสิทธภาพของเครื่อง
ุ
่
ี
ี
ิ
ผสม ปกตแล้วเครื่องผสมคอนกรีตชนิดโมผสมเอยงจะมรอบการหมน
ประมาณ 30 รอบ/นาที
ในการผสมคอนกรีตแตละครั้ง ควรพิจารณาถึงปริมาณ
่
ของคอนกรีตที่จะต้องใช้ แล้วจึงพิจารณาเลือกความเร็วรอบในการหมน
ุ
หากตองผสมคอนกรีตปริมาณมากๆ อาจจะตองใช้ความเร็วรอบที่ช้าลง
้
้
เพื่อไม่ให้เครื่องท างานหนักเกินประสิทธิภาพ
3.2.3 ปัญหาปูนซีเมนต์จับเป็นก้อนในเครื่องผสม
ปัญหานี้สามารถเกิดได้จากสาเหตุต่อไปนี้
ี
3.2.3.1 การใส่ทรายเปียก และปูนซเมนตลงในเครื่องผสม
์
ก่อนที่จะใส่น้ า และหิน
3.2.3.2 แผ่นเหล็กกั้นในเครื่องผสมสึกหรอ
ี
3.2.3.3 วัสดุมวลรวม หรือปูนซเมนต หรือน้ าผสมคอนกรีต
์
มีอุณหภูมิสูงเกินไป
3.2.3.4 การใส่วัสดุลงในเครื่องเร็วเกินไป หรือเกินก าลัง
ของเครื่องผสม