Page 86 - คอนกรีต
P. 86
4-3
2.2.3 สิ่งที่ฝังติดแน่นในคอนกรีต
ิ
ั
ั
ี
ในงานโครงสร้างคอนกรีต มกจะมสิ่งที่ฝงตดแน่นใน
คอนกรีต เช่น ท่อร้อยสายไฟ ท่อระบาย เหล็กเสริม หรือแผนโลหะ
่
่
ส าหรับรอยตอเขื่อม เป็นตน สิ่งฝงแน่นเหล่านี้ควรจะยึดใหแน่นก่อนที่
ั
้
้
่
จะเทคอนกรีต และไมควรส่งผลกระทบกระเทือนตอตาแหน่งของเหล็ก
่
เสริมคอนกรีต นอกเสียจากว่าจะมระบุไว้ในแบบก่อสร้าง นอกจากนี้ยัง
ี
ไม่ควรอยู่ในต าแหน่งที่ท าให้ความแข็งแรงของโครงสร้างลดลง
ู
การฝงท่อน้ าที่มขนาดเส้นผานศนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ซม.
ั
่
ี
(1 นิ้ว) ไม่ถือว่าท าให้ความแข็งแรงของคอนกรีตลดลง ส าหรับท่อหรือ
้
ั
้
้
ช่องที่ใหญ่กว่านี้ จะตองพิจารณาใส่เหล็กเสริม ในกรณีที่ตองฝงไมไว้
ั
้
้
้
ในคอนกรีต (ส่วนใหญ่ส าหรับการติดตั้งวงกบ) ตองท าใหไมที่ฝงชุ่มน้ า
ั
้
เสียก่อน มฉะนั้นไมจะพองตว เมอสัมผสกับน้ าในคอนกรีต ท าใหพอง
ั
ื่
้
ิ
ตัวและส่งผลให้คอนกรีตแตกร้าวได้
2.2.4 แบบหล่อ และเหล็กเสริม
ก่อนที่จะเทคอนกรีต จะตองตรวจสอบตาแหน่ง ขนาดและ
้
การใช้วัสดุในการท าแบบ และเหล็กเสริมคอนกรีตใหละเอยดก่อน
ี
้
ส าหรับแบบหล่อ และค้ ายัน จะต้องตรวจสอบดูการรับน้ าหนัก ทั้งน้ าหนัก
ของคอนกรีต ผู้ที่ท างาน อุปกรณ์ และแรงสั่นจากเครื่องสั่นคอนกรีต เป็น
่
่
ตน แบบหล่อ และค้ ายันจะตองไมทรุด แอน ป่องออก หรือแตก ผว
้
ิ
้
ี
์
่
์
้
ของแบบจะต้องเรียบ ไมมรู หรือรอยตอที่ท าใหซเมนตเพสตไหลออกได้
่
ี
่
และทาแบบด้วยน้ ามน หรือน้ ายาทาแบบ แตในกรณีที่ใช้น้ ามน ตอง
ั
ั
้
ั
้
ี
ระมดระวังอย่าทาใหมากเกินไป จนมน้ ามนส่วนเกินไหลปนมาใน
ั
คอนกรีตสด
ิ
สิ่งที่ช่างส่วนมากเข้าใจผดในเรื่องของการตงแบบคานคือ
ั้
การตงแบบคานแบบ “ ยกนูน ” ซงเป็นการตงแบบหล่อคานใหสูงขึ้น
ึ่
ั้
้
ั้
ั
ื่
ประมาณ 1 – 2 ซม. เพราะเมอคานแข็งตวแล้วคานจะโก่งลงเล็กน้อย
หากยกนูนไว้จะท าให้คานโก่งลงเป็นแนวเส้นตรงพอดี ไมตองมงานฉาบ
ี
้
่
คานใหได้แนวตรง แตตามหลักวิชาการแล้ว การโก่งลงของคานเป็น
้
่
เรื่องปกตที่ผออกแบบจะตองพิจารณาถึงอยู่แล้ว โดยผออกแบบจะตอง
้
้
ู้
ู้
ิ
ออกแบบให้คานมีระยะโก่งไม่เกินมาตรฐานที่ก าหนดไว้