Page 82 - ทางและสนามบิน
P. 82

4-37

                              10.2.1 วัสดุ

                                     วัสดุหินคลุกต้องเป็นหินโม่มวลรวมที่มีเนื้อแข็ง เหนียว ไม่ผุ สะอาดปราศจากวัสดุอื่น
               เจือปนจากแหล่งที่ได้รับความเห็นชอบจากนายช่างผู้ควบคุมงานแล้ว วัสดุจำพวก Shale  ห้ามนำมาใช้

                                     ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น วัสดุที่ใช้ทำพื้นทางหินคลุกรองติดกันใต้

               ผิวทางคอนกรีตต้องมีคุณสมบัติดังนี้
                                     10.2.1.1 มีค่าความสึกหรอ เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.202 “วิธีการทดลองหาค่า

               ความสึกหรอของ Coase aggregate โดยใช้เครื่อง Los  Angeles  Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 40

                                                             ่
                                     10.2.1.2  มีค่าของส่วนที่ไมคงทน ( loss ) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.213  “วิธีการ
               ทดลองหาค่าความคงทน ( Soundness ) ของมวลรวม”         โดยใช้โซเดียมซัลเฟตจำนวน 5 รอบ แล้วไม่

               เกินร้อยละ 9
                                     10.2.1.3  ส่วนละเอียด ( Fine  Aggregate )  ต้องเป็นวัสดุชนิด และคุณสมบัติ

                                                                                 ื่
                                                               ี
               เช่น เดียวกับส่วนหยาบหากมีความจำเป็นต้องใช้วัสดุละเอยดชนิดอื่นเจือปน   เพอปรับปรุงคุณภาพจะต้อง
               ได้รับความเห็นชอบจากกรมทางหลวงก่อน
                                                             ื่
                                     10.2.1.4  มีขนาดคละที่ดีเมอทดลองตาม ทล.-ท.205         “วิธีการทดลองหา
               ขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่านตะแกรงแบบล้าง” ต้องมีขนาดหนึ่ง ตามตารางที่ 4.4
                                     10.2.1.5  ส่วนละเอียดที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.075 มลลิเมตร      ต้องไม่มากกว่า
                                                                                  ิ
               สองในสาม (2/3) ของส่วนละเอียดที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.425 มิลลิเมตร

                                           ตารางท 4.4 ขนาดคละของวัสดุหินคลุก
                                                  ี่
                         ขนาดตะแกรง                         ปริมาณผ่านตะแกรง ร้อยละโดยมวล

                  มิลลิเมตร        (นิ้ว)             A                  B                   C
                  50          (2)                   100                 100                   -

                  25.0        (1)                     -                75-95                100

                  9.5         (3/8)                 30-65              40-75               50-85
                  4.75        (เบอร์ 4)             25-55              30-60               35-65

                  2.00        (เบอร์ 10)            15-40              20-45               25-50

                  0.425       (เบอร์ 40)            8-20               15-30               15-30
                  0.075       (เบอร์ 200)            2-8               5-20                 5-15



                                     10.2.1.6  มีค่า Liquid Limit  เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.102  “วิธีการทดลองหา
               ค่า Liquid  limit ( L.L ) ของดิน” ไม่เกินร้อยละ 25

                                     10.2.1.7  มีค่า Plasticity  Index  เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.103 “วิธีการทดลอง
               เพื่อหาค่า Plastic Limit และ Plasticity Index” ไม่เกินร้อยละ 6
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87