Page 71 - ทางและสนามบิน
P. 71

4-26

                              7.4.2 การทดสอบความแน่นของการบดทับ

                                     งานรองพื้นทางวัสดุจะต้องทำการบดทับ      ให้ได้ความแน่นแห้งสม่ำเสมอตลอดไม่
               ต่ำกว่าร้อยละ 95  ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลอง ตัวอย่างวัสดุเก็บจากหน้างาน  ในสนาม

               หลังจากคลุกเคล้าผสมและปูลงบนพื้นถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 108        “วิธีการทดลอง  Compaction  Test

               แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
                                     การทดสอบความแน่นของการบดทับ       ให้ดำเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 603

               “วิธีทดลองการหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย”  ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่องทาง

               จราจร หรือประมาณพื้นที่ 700 ตารางเมตร ต่อ 1 หลุมตัวอย่าง

                      7.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายค่างาน

                              7.5.1 วิธีการวัดปริมาณงาน

                                     การวัดปริมาณงานรองรับพื้นทางวัสดุมวลรวม ให้ทำการตรวจสอบค่าระดับและ
               ทดสอบความแน่นของการบดทับถูกต้อง ตามที่กำหนดแล้ว โดยวัดปริมาณงานมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร


                              7.5.2 วิธีการจ่ายค่างาน
                                     การจ่ายค่างานตามรายการนี้ หมายรวมถึง ค่าวัสดุ ค่าเครื่องจักร ค่าแรงงานและอื่น

                                                          ้
               ๆ ที่จำเป็นเพื่อการก่อสร้างให้ถูกต้องเรียบร้อยตามขอกำหนด  โดยคิดจ่ายค่างานที่แล้วเสร็จแต่ละงวด ในราคา
               ต่อหน่วยตามสัญญา

               8. งานพื้นทางหินคลุก  ( CRUSHED  ROCK  SOIL  AGGREGATE  TYPE  BASE )

                                              ื้
                         หมายถึง การกอสร้างชั้นพนฐาน บนชั้นรองพื้น หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้แล้ว  ด้วยวัสดุหินคลุกที่
                                     ่
               มีคุณภาพตามข้อกำหนด โดยการเกลี่ยแต่ง และบดทับให้ได้แนวระดับ และรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบ

                      8.1 วัสดุ

                              วัสดุหินคลุกต้องเป็นโม่มวลรวม ( Crushed  soil  aggregate  type )   ที่มีเนื้อแข็งเหนียว
               ไม่ผุ และปราศจากวัสดุเจือปนจากแหล่งที่ได้รับความเห็นชอบจากนายช่างผู้ควบคุมงานแล้ว   วัสดุจำพวก

               Shale  ห้ามนำมาใช้       ในกรณีไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น   วัสดุที่ใช้ทำพื้นทางหินคลุก      ต้องมี

               คุณสมบัติดังนี้
                                                     ื่
                               8.1.1  มีค่าความสึกหรอ เมอทดลองตาม ทล.-ท.202    “วิธีการทดลองหาค่าความสึกร่อ
               ของ Coase aggregate โดยใช้เครื่อง Los  Angeles  Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 40
                               8.1.2  มีค่าของส่วนที่ไม่คงทน ( loss ) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.213   “วิธีการทดลองหา

               ค่าความคงทน ( Soundness ) ของมวลรวม” โดยใช้โซเดียมซัลเฟตจำนวน 5 รอบแล้ว   ไม่เกินร้อยละ 9
               หินคลุกจากแหล่งเดิมที่มีหลักฐานแสดงผลการทดลองหาค่าความคงทนว่าใช้ได้        อาจจะ ยกเว้นไม่ต้อง

                                                                             ี
               ทดลองอีกก็ได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของทางหลวง ที่จะใช้การทดลองเดิมที่มอยู่
                                                                                     ุ
                               8.1.3  ส่วนละเอียด ( Fine  Aggregate ) ต้องเป็นวัสดุชนิดและคณสมบัติเช่น เดียวกับ
               ส่วนหยาบ ( Coarse  Aggregate ) หากมีความจำเป็นต้องใช้วัสดุละเอียดอื่นเจือปนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ

               จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมทางหลวงกอน
                                                     ่
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76