Page 76 - ทางและสนามบิน
P. 76

4-31

               9. งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม ( SOIL - AGGREGATE SHOULDER )

                      หมายถึง การก่อสร้างชั้นไหล่ทางลงบนชั้นรองพื้นทางหรือชั้นอื่นใดที่เตรียมไว้แล้วด้วยวัสดุมวลรวมที่ม ี

                                                                                    ี่
               คุณภาพตามขอกำหนดโดยการเกลี่ยแต่งและบดทับให้ได้แนวระดับและรูปร่างตามทแสดงไว้ในแบบ
                           ้
                      9.1 วัสดุ

                             วัสดุมวลรวม    ต้องเป็นวัสดุที่มีเม็ดแข็งทนทานมีส่วนหยาบผสมกับส่วนละเอียด         ที่มี
               คุณสมบัติเป็นวัสดุเชื้อประสานที่ดีปราศจากกอนดินเหนียวและวัชพืชอื่น ๆ จากแหล่งที่ได้รับความเห็นชอบ
                                                    ้
               จากนายช่างผู้ควบคุมงานแล้ว           หากมีส่วนที่จับตัวกันเป็นก้อนแข็ง   หรือยึดเกาะกันมีขนาดโตกว่า 50
               มิลลิเมตร จะต้องกำจัดออกไปหรือทำให้แตก และผสมเข้าด้วยกันให้มีลักษณะสม่ำเสมอ

                               ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น             วัสดุที่ใช้ทำไหล่วัสดุมวลรวมจะต้องมี

               คุณสมบัติดังนี้
                                                     ื่
                               9.1.1  มีค่าความสึกหรอ เมอทดลองตาม ทล.-ท.202        “วิธีการทดลองหาค่าความสึก
               หรอของ Coase Aggregate โดยใช้เครื่อง Los  Angeles  Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 60

                               9.1.2  มีขนาดคละที่ดีเมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205     “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของ
               วัสดุโดยผ่านตะแกรงแบบล้าง” ต้องมีขนาดหนึ่งขนาดใดตามตาราง 4.3

                               9.1.3  มีค่า Liquid  Limit เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 102    “วิธีการทดลองหาค่า Liquid

               Limit ( L.L ) ของดิน” ไม่เกินร้อยละ 25
                               9.1.4  มีค่า Plasticity  Index  เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.103    “วิธีการทดลองเพอหาค่า
                                                                                                   ื่
               Plastic Limit และ Plasticity Index” ระหว่างร้อยละ 4 ถึงร้อยละ 15  สำหรับวัสดุมวลรวมขนาด A     ที่
               เป็น Non  Plastic  ยอมให้ใช้ได้

                                                                                    ื่
                               9.1.5  มีค่า CBR เมื่อทดลองตาม ทล.-ท.109  “วิธีการทดลองเพอหาค่า CBR” ไม่น้อยกว่า
               ร้อยละ 30 สำหรับความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95  ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้         จากการ
               ทดลองตาม ทล.-ท.108 “วิธีการทดลอง Compaction  Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”


                                    ตารางท 4.3   ขนาดคละของวัสดุไหล่ทางวสดุมวลรวม
                                           ี่
                                                                           ั
                         ขนาดตะแกรง                         ปริมาณผ่านตะแกรง ร้อยละโดยมวล
                  มิลลิเมตร        (นิ้ว)          A              B             C               D

                  50          (2)                 100           100              -              -
                  25.0        (1)                   -             -            100             100

                  9.5         (3/8)              30-65          40-75         50-85          60-100
                  2.00        (เบอร์ 10)         15-40          20-45         25-50           40-70

                  0.425       (เบอร์ 40)          8-20          15-30         15-30           25-45

                  0.075       (เบอร์ 200)          2-8          5-20           5-15            5-20
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81