Page 28 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 28
2-4
5.1 แรงลมทั้งหมด
จะพิจารณาได้จากการใช้หน่วยแรงลมที่กระทำต่อพื้นที่ของท้ายเรือหรือพื้นที่ของข้างเรือ
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการใช้เครื่องยึดเรืออันเดียว หรือ 2 อัน แรงลมทั้งหมดเป็นปอนด์นี้ให้พิจารณาจากสูตร ที่ตั้งขึ้น
โดยอาศัยการทดลองแล้ว ดังนี้
2
H = 0.004 V A
W
ซึ่ง V = ความเร็วของกระแสลมเป็นไมล์ / ชั่วโมง
A = เป็นพื้นที่ของเรือที่จะต้านลมเป็นตารางฟุต
5.2 แรงสั่นและแกว่งของเรือ
โดยธรรมดาเรือที่จอดอยู่จะมีการเคลื่อนไหวด้วยการเปลี่ยนแปลงของกระแสลม การกระทำ
ของคลื่นหรือกระแสน้ำ แรงทางราบนี้คิดได้ประมาณ 30% ของแรงลมทั้งหมด และคิดให้กระทำในทิศทาง
เดียวกับแรงลม ดังนั้น
H = 0.30 H
S
W
5.3 แรงลู่ของกระแสน้ำ แรงทางราบที่เกิดจากกระแสน้ำ
คือ ผลรวมของการปะทะเนื่องจากแรงยึดที่เกิดขึ้นกับลำเรือนั้น แรงลู่ที่เกี่ยวกับการกอรูปของ
่
คลื่นและการเคลื่อนตัวของคลื่นเมื่อปะทะเรือแล้ว ค่าของแรงลู่ของกระแสน้ำนี้ พิจารณาได้โดยอาศัยการ
ทดลองสำหรับเรือที่กินน้ำลึก เช่น LIBERTY , VICTORY และเรือบรรทุกสัมภาระ
H = 900 V
2
C
C
ซึ่ง H = แรงทางราบเป็นปอนด์สำหรับการยึดแบบแกว่งได้อิสระ
C
V = ความเร็วของกระแสน้ำเป็นน๊อต
C
ถ้าการยึดเรือทั้งหัวและท้ายแล้ว
H = 2.32 B. V
2
C
C
ซึ่ง B = พื้นที่รูปตัดของลำเรือใต้ระดับน้ำเป็นตารางฟุต
V = ความเร็วของกระแสน้ำเป็นน๊อต
C