Page 13 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 13

1-6

                      4.4  ความใกล้เส้นทางคมนาคม

                                                                                     ื่
                              เส้นทางคมนาคม เช่น ถนน และทางรถไฟ  จะต้องมีให้พอเพียงเพอเข้าสู่บริเวณท่าเรือ หรือ
               มิฉะนั้น  ก็สามารถที่จะสร้างขึ้นได้พอให้ใช้ได้อย่างน้อยที่สุดตามที่ต้องการ  ดังที่ได้กล่าวไว้แต่ตอนต้นแล้วว่า

                                                                              ื
               ท่าเรือมิใช่บริเวณที่จะเป็นคลังเก็บรักษา สรรพสิ่งของต่าง ๆ ไว้         ซึ่งเกอบจะกล่าวได้ว่า ท่าเทียบเรือเป็น
               ส่วนหนึ่งของระบบการขนย้ายพัสดุทั้งหลาย  เพราะฉะนั้น  ในการเลือกที่สร้างท่าเรือนั้น  สิ่งที่ควรจะคำนึงกคือ
                                                                                                       ็
               ปัญหายิ่งใหญ่ในการจะทำการลำเลียงวัสดุ  ทั้งหลายให้ออกไปจากบริเวณท่าเรือนั้น  ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะกระทำ

               ได้เรื่องนี้จำเป็นต้องทำการพิจารณาถึงเครื่องให้ความสะดวกที่มีอยู่เดิมแล้ว  เพื่อขจัดเสียซึ่งปัญหาเกี่ยวกับการ
               จะต้องทำการสร้างใหม่  การสนองความต้องการเกี่ยวกับ      ข่ายงานในการลำเลียงตามทางหลวงนั้นบางครั้ง

               บริเวณที่จอด , ที่เก็บน้ำ และน้ำมัน ,  สิ่งให้ความสะดวกในการส่งกำลังเหล่านี้เอง จะเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งใน
               การบั่นทอนการตัดสินใจในการที่จะเลือกตำบลที่ตั้งให้ถูกต้องได้


                      4.5  ภูมิมาปนะวิทยาของบริเวณใกล้เคียง

                              เราจำเป็นต้องศึกษาพื้นที่บริเวณที่จะเป็น    เขตท่าเรือเกี่ยวกับระดับและความสามารถในการ

               รับน้ำหนักของพื้นดินบริเวณนั้น   ท่าเรือจะต้องไม่สร้างในบริเวณที่พื้นที่รอบ ๆ นั้นเป็นหล่ม หรือมีหน้าผาชัน
               หันเข้าสู่บริเวณท่าเรือนั้น   พื้นบริเวณส่วนใหญ่        ควรจะเป็นพื้นระดับซึ่งมีความสูงระหว่าง 5 - 10 ฟุต

                                        ี่
               จากระดับน้ำสูงสุดในบริเวณทอยู่ติดกับพื้นน้ำ     และปราศจากป่าทึบ , หนองบึง , หรือ บริเวณที่มีหินทับถม
               อยู่ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ขัดขวางการก่อสร้างทั้งสิ้น บริเวณดังกล่าวนั้น เป็นสิ่งพึงประสงค์อย่างยิ่งในการสร้างท่าเรือ

                      4.6  ความสามารถในการที่จะขยายตัวเองได้

                              ในสงครามโลกครั้งที่  2  ได้แสดงตัวอย่างอันดี  ให้ประจักษ์ว่า  การประมาณความต้องการ
               เกี่ยวกับการท่าเรือนั้น หากได้กระทำโดยถูกต้อง เป็นต้นว่า   ได้วางแผนไว้ว่าท่าเรือแห่งนี้จะเป็นท่าเรือที่สำคัญ

               ยิ่ง แต่ไม่เคยได้ใช้เลยและในทำนองเดียวกัน ท่าเรือเล็ก ๆ กลับกลายเป็นท่าเรือที่สำคัญยิ่งไปได้  เพราะฉะนั้น
               การเตรียมการเพื่อการขยายในอันที่จะอำนวยให้มีพื้นที่ทำคลังพักซึ่งห่างจากพื้นน้ำเข้าไปมากพอ    และยัง

               ต้องการถนนเพิ่มเติมเพอการบริการของท่าเรือนั้น    ในการเลือกระหว่างที่สร้างหลาย ๆ แห่ง ที่ไม่สามารถจะ
                                  ื่
               ทำการขยายได้ ทั้งนี้  เนื่องมาจากสถานการณ์บังคับ ก็อาจเลือกเอาสักแห่งหนึ่งที่ถึงแม้ว่า ความต้องการขั้นต้น
                               ี่
               จะไม่อยู่ในเกณฑ์ทพอใช้ก็ตาม   แต่สามารถจะทำการขยายได้ในอนาคต      ความรับผิดชอบของทหารช่าง
               โดยเฉพาะในขั้นการวางแผนนั้น  อาจต้องการบริเวณที่สร้างที่จะหลีกเลี่ยงบริเวณที่จะต้องสิ้นเปลืองเวลา  -

               แรงงาน  และวัสดุในการที่จะทำการขยายในขั้นต่อไปก็ได้
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18