Page 10 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 10

1-3

                                     2  อู่แห้งลอย เป็นอู่เรือที่ต้องสูบน้ำเข้าอู่ให้จมลงจนกระทั่งเรือ สามารถแล่นเข้าไป

                                                               ้
               ในอู่ได้ แล้วจึงสูบน้ำออกจากอู่ ทำให้อู่ลอยตัวขึ้นเรือก็จะพนจากน้ำอู่แห้งลอยขนาดใหญ่ ๆ     จะสามารถแล่น
                          ู่
               ไปได้ด้วยตัวอเอง

                      2.5  เขื่อนกันคลื่น (BREAK WATER)

                              เป็นสิ่งก่อสร้างที่จะป้องกันมิให้น้ำ  ภายในบริเวณท่าจอดเรือถูกรบกวนจากคลื่นแรง  ๆ  หรือ

                                                                                       ี่
               เพื่อป้องกันร่องน้ำ      หรือทางเข้าออกของเรือที่ไกลฝั่งเขื่อนกันคลื่นใช้เฉพาะบริเวณทต้องการจะเพิ่มลักษณะ
               ของบริเวณท่าจอดเรือตามธรรมชาติ                ในเมื่อสามารถทำการสร้างได้  ส่วนมากมักจะสร้างเป็นแนวยาว

               ขนานหรือเฉียงไปกับฝั่ง

                      2.6  เขื่อนบังคับกระแส  (JETTY)


                                                             ื่
                              คือ สิ่งก่อสร้างที่ยื่นลงไปในท้องน้ำ เพอบังคับ    และกำจัดให้กระแส หรือการไหลของน้ำที่
                                                                                             ื
               ขึ้นลงให้เข้าสู่ร่องน้ำที่เลือกไว้ตามต้องการได้      โดยมากมักจะสร้างเฉียงกับแนวฝั่ง หรือเกอบตั้งได้ฉากกับ
               แนวฝั่ง ศัพท์ทั่วไปมักเรียกว่า “ รอ “

                      2.7  เขื่อนหินหรืออฐก่อ (MOLE)
                                       ิ

                               หมายถึง  เขื่อนกันคลื่นหรือเขื่อนบังคับกระแสนั่นเองหากแต่ว่าเรืออาจจะมาผูกจอดทางด้าน
                        ื่
               อับลม  เพอใช้สิ่งกอสร้างนี้สำหรับทำการบรรทุก      และขนถ่ายเสมือนเป็นท่าเทียบเรือชั่วคราวได้
                              ่
                      2.8  เขื่อนกั้นน้ำเซาะชายฝั่ง (GROIN)

                              เป็นสิ่งก่อสร้างที่ยื่นออกไปจากฝั่ง      เพื่อป้องกันมิให้ถกน้ำเซาะพังโดยปะทะกระแสซึ่งไหล
                                                                            ู
               ขนานกับแนวฝั่ง  กระแสเช่นนี้        จะเกิดขึ้นจากคลื่นที่มากระทบกับฝั่ง  แล้วเปลี่ยนทิศทางการไหลของน้ำไป
               และจะไหลใกล้ ๆ ฝั่ง


               3.  ความสามารถของท่าเรือ

                      ในการสร้างและในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับท่าเรือนั้น  สิ่งแสดงออกที่สำคัญยิ่งก็    คือ    คำว่า
               “ความสามารถของท่าเรือ” ความสามารถของท่าเรือนี้   ประมาณการได้จากจำนวนการขนถ่ายของย่านท่าเรือ

               นั้น (เป็นตันต่อวัน) และขึ้นอยู่กับสิ่งอำนวยความสะดวกทางวัตถุ ความสามารถนี้ควบคุมด้วยปัจจัย 3 ประการ
               ไม่ว่ากรณีใด  ๆ  ปัจจัยอันใดอันหนึ่งจะเป็นสิ่งจำกัด  และต้องพิจารณาโดยแน่นอนทันที      และคาดว่า  จะเริ่ม

               พิจารณานับตั้งแต่สัมภาระมาถึงท่าเรือแล้ว ปัจจัยทั้ง 3 ดังกล่าว ได้แก่ :-

                      3.1  ความสามารถในการรับเรือบรรทุกของท่าเรือ


                              ปัจจัยประการนี้      พิจารณาโดยสมรรถภาพในการที่จะนำเรือบรรทุกเข้ามาสู่ท่าเรือ  หรือ
               บริเวณชายฝั่งของท่าเรือได้เพยงใด      ทั้งนี้อาจจะเป็นผลมาจากช่วงระยะระดับน้ำขึ้นลง      ดังในกรณีของท่า
                                       ี
                                                                                             ื่
                                                                                   ี่
               จอดเรือที่เก็บกักน้ำไว้ได้ หรืออาจเป็นผลจากกระแสน้ำ, ร่องน้ำ และทางเข้าออกทมีให้ใช้ได้ เพอนำเรือมาสู่ท่า
               จอดเรือ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15