Page 34 - WaterSupply
P. 34

4-2

                                 3.1.6 แหล่งน้ าจากพืช เช่น มะพร้าว กล้วยป่า กล้วยบ้าน สับปะรดบ้าน

                                 3.1.7 แหล่งน้ าจากหิมะ หรือ น้ าแข็ง
                        จากที่กล่าวแล้วทั้งหมด  นักเรียนจะเห็นว่าเราได้ทราบถึงแหล่งน้ าและอื่น  ๆ  เพียงคร่าว  ๆ  เท่านั้น
               ส่วนรายละเอียดต่าง ๆ จะไม่ปรากฏให้เห็นเลย หากจะจัดตั้งต าบลจ่ายน้ าอาจจะมีปัญหาในภายหลังได้

               3. การลาดตระเวนน ้าทางพื นดิน

                       การลาดตระเสนแหล่งน้ าทางพื้นดินนี้เป็นการกระท าซึ่งต่อเนื่องมาจากการลาดตระเวนขั้นต้น
               เจ้าหน้าที่ประปาจะต้องกระท าให้ได้ถ้าโอกาสอ านวย   เพราะการลาดตระเวนทางพื้นดินนี้จะให้รายละเอียด
               เกี่ยวกับการประปาสนามและได้ผลดีที่สุดเกี่ยวกับ
                         1. แหล่งน้ า

                         2. ปริมาณน้ า
                         3. คุณภาพน้ า
                         4. พื้นที่ที่จะตั้งต าบลจ่ายน้ า

                         5. เส้นทางคมนาคม
                         6. การระบายน้ า

                      3.1 แหล่งน ้า
                                จะได้ทราบว่าเป็นแหล่งน้ าชนิดใด  เช่น   แหล่งน้ าบนดิน, ในดิน, น้ าพุ หรือ อื่น ๆ ว่ายังใช้ได้
               อยู่หรือไม่

                      3.2 ปริมาณน ้า

                             จะได้ค านวณหาจ านวนของปริมาณน้ าในแหล่งน้ านั้นได้ถูกต้อง  และมีผลต่อการผลิต  และแจกจ่าย
               ด้วย สูตร  การหาปริมาณน้ า

                      3.3 คุณภาพน ้า
                              เจ้าหน้าที่จะได้น าน้ าขึ้นมาท าการทดสอบว่าน้ าในแหล่งน้ านั้นมีคุณภาพเพียงใดพอจะ

               แก้ไขได้หรือไม่

                      3.4 พื นที่
                                พื้นที่ที่จะตั้งเป็นต าบลจ่ายน้ ามีพื้นที่กว้างขวางพอเพียงหรือไม่  เมื่อตั้งแล้วจะปลอดภัยจาก
               ฝ่ายตรงข้ามเพียงใด และอย่าลืมเลือกพื้นที่ "รอง" ไว้ด้วย มีข้อที่พึงน ามาพิจารณาดังนี้
                                 4.4.1 การปกปิดก าบัง (การซ่อนพราง)

                              4.4.2 ที่ตั้งไม่เป็นเป้าของ ป. ฝ่ายตรงข้าม
                                 4.4.3 พื้นที่การระบายน้ า ต้องระบายน้ าได้ดีและปกปิด
                                 4.4.4 พื้นที่จอดรถและทางเข้าออก (ทั้งของชุดประปาและรถที่มารับน้ า)

                                 4.4.5 พื้นที่ตั้งชุดประปาสนามและสิ่งอุปกรณ์เพียงพอหรือไม่
                                 4.4.6 พื้นที่ส าหรับสร้างที่พักของเจ้าหน้าที่
                                 4.4.7 สภาพตลิ่ง สภาพตลิ่งนับว่าส าคัญอย่างมาก จึงต้องพิจารณาว่า
                                           - จากพื้นที่ต าบลจ่ายไปยังแหล่งน้ ามีสภาพเช่นไร

                                           - ถ้าเป็นตลิ่งลาด ให้พิจารณาว่าลาดนั้นยาวมากไหม จะแก้ไขอย่างไร
                                           - ถ้าเป็นตลิ่งชัน การสูบน้ าในทางดิ่งจะเป็นปัญหาในเรื่องปริมาณน้ า
                                เราจึงมีข้อก าหนดว่า  ถ้าตลิ่งสูงชันในทางดิ่งเกินกว่า  50  ฟุต  จะต้องต่อเครื่องสูบน้ าแบบ

               อันดับ ทุกครั้ง
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39