Page 36 - WaterSupply
P. 36
4-4
5.1.3 เพื่อให้การแก้ไขน้ าและการแจกจ่ายน้ ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
5.1.4 เพื่อลดการบ ารุงรักษาอุปกรณ์การประปาให้น้อยลง
5.1.5 เพื่อป้องกันมิให้ปริมาณการแจกจ่ายน้ าเกิดความไม่เท่าเทียมกัน
5.1.6 เพื่อให้มีสถิติการประปาส าหรับหน่วยเหนือ
4.2 แบบของสถิติการประปา
สถิติการประปาใช้อยู่หลายแบบ แต่ในบทเรียนนี้จะแนะน าให้ทราบเพียง 4 แบบ
เท่านั้น คือ
5.2.1 แบบปฏิบัติการควบคุมคุณภาพน้ า
5.2.2 แบบสถิติการแจกจ่ายน้ าประจ าวัน
5.2.3 แบบแสดงรายงานประจ าวัน
5.2.4 แบบสรุปความสิ้นเปลืองสารเคมี, เชื้อเพลิงและหล่อลื่น คุณลักษณะของสถิติการ
ประปาสนาม
จะต้องง่ายและสะดวกในการใช้ เพราะการปฏิบัติงานในสนามนั้น ไม่เหมือนกับการปฏิบัติใน
ยามปกติดังนั้นเจ้าหน้าที่ประปาสนามย่อมมีภารกิจมากจนไม่สามารถจะท ารายงานแบบละเอียดและประณีตได้
มากนัก แบบของสถิติที่จะขึ้นจึงต้องเป็นที่กะทัดรัด แต่ได้ใจความ คือ
"ต้องใช้ง่าย - ได้ใจความ และไม่เสียเวลา (ในการบันทึกมาก)"
4.3 ค้าอธิบายการใช้แบบสถิติ (กรอกแบบฟอร์ม) ดังต่อไปนี
5.4.1 แบบที่ 1 แบบปฏิบัติการควบคุมคุณภาพน้ า
(1) ยศ,ชื่อ.................(ลงชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ท าการทดสอบคุณภาพน้ า)
(2) วัน,เดือน,ปี,เวลา............(ลงวัน,เดือน,ปี และเวลาทดสอบ)
(3) แผนที่,ระวาง,พิกัด................(ลงแผนที่ที่ไหน,ระวางเท่าใด,
และพิกัดใด โดยใช้เลข 6 ตัว หรือจะลงเป็นชื่อของสถานที่ก็ได้ เช่น บ้าน,หมู่,ต าบล,จังหวัด)
(4) น้ าในถังที่......................(เป็นหมายเลขของถังตกตะกอน)
(5) ค่า PH เดิม...........................(หมายถึงค่าของน้ าดิบ)
- สี.......(ถ้าตรวจพบว่าน้ ามีสี ให้บันทึกว่า "มี" ถ้าไม่มีใช้ - (ขีด)
- กลิ่น..........(บันทึกเหมือนสี)
- รส...........(บันทึกเหมือนสี)
- ความขุ่น..(ให้บันทึกเพียง 5 PPM.100 PPM.และ 100 PPM.เท่านั้น)
(6) การใช้สื่อชักตะกอน (ดูตามตารางก่อน)
- บรรทัด 1 ทางระดับ ช่อง 1 ครั้งที่......(คือ ครั้งที่ของการทดสอบ)
- บรรทัด 1 ทางระดับ ช่อง 2 และ 3 (คือ จ านวนของครั้งที่ทดสอบ
จนกว่าจะได้ผล
- บรรทัด 2 ทางระดับ ช่อง 2 ( คือ จ านวนขวดที่ใช้ทดลองมีครั้งละ
4 ขวด)
- บรรทัด 3 ทางระดับ จ านวนน้ ายาสารส้มที่ใช้ทดสอบ
- บรรทัด 4 ทางระดับ จ านวนของน้ ายาโซดาแอ๊ซ (ถ้ามีการใช้น้ า
อื่น ๆ ก็ให้เพิ่มบรรทัดขึ้นอีก)