Page 31 - WaterSupply
P. 31
3-8
- ถ้าจ้าเป็นต้องแก้เป็นกรณีพิเศษต้องปรึกษาแพทย์ หรือ วศ.ทบ.
4.5 การแก้ลักษณะของน้้า
- การปรับค่า PH เป็นเรื่องละเอียดรอบคอบมาก จะไม่อธิบายในที่นี้ให้เป็นเรื่องของ
เจ้าหน้าที่
- รส, กลิ่น และ สี ให้แก้ด้วยการใช้ถ่านไวมาตรฐาน บางครั้งรสของน้้าต้องแก้เป็นกรณีพิเศษ
- การแก้ความขุ่นของการประปาสนามนั้น แก้ด้วยการตกตะกอนและการกรอง
4.6 การแก้ไขน้้าเพื่อใช้เป็นส่วนบุคคลหรือหน่วยขนาดย่อม (ไม่มีชุดประปาสนาม)
ด้วยการตกตะกอนและฆ่าเชื้อโรค ให้กระท้าดังนี้
4.6.1 หาภาชนะหรือวัสดุอื่นใด เช่น ปีบ, เข่ง ฯลฯ
4.6.2 น้าแผ่นพลาสติกหรือถุงพลาสติกวางหรือสวมลงภายใน
4.6.3 ใส่น้้าดิบลงไป
4.6.4 แกว่งด้วยสารส้ม
4.6.5 เมื่อน้้าใส น้าไปใส่กระติกแล้วเติมด้วยยาเม็ดฮาราโซน หรือ อื่น ๆ
4.6.6 ถ้าหากภาชนะหรืออย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ ให้ขุดหลุมตามความพอใจและบุด้วย
พลาสติกหรือเสื้อกันฝน และกระท้าเหมือนกับข้างต้น
กรรมวิธีในการแก้ไขน้้าให้สะอาดนี้ นักเรียนจะต้องรู้จักสารเคมีในการประปาสนาม
มีเป็นตัวหลักอยู่ 5 ตัว คือ
1. สารส้ม (3 ชนิด)
2. โซดาแอซ หรือ ไลม์สโตน
3. แคลเซียมไฮโปคลอไรท์
4. ถ่านไว
5. ผงไดอาไทไมท์
4.7 การควบคุมคุณภาพน้้า
การควบคุมคุณภาพน้้าของกองทัพบกสหรัฐ เป็นหน้าที่โดยตรงของเหล่าแพทย์แต่ส้าหรับ
กองทัพบกไทยนั้น อยู่ในความรับผิดชอบของทหารช่างและในการควบคุมคุณภาพน้้าในสนามของการประปา
สนามนิยมใช้ชุดควบคุมคุณภาพน้้า ซึ่งจัดเตรียมไว้ในแบบกระทัดรัดสะดวกต่อการใช้ และการเคลื่อนที่ใน
สนาม และมีอุปกรณ์ในการทดสอบพร้อมน้้ายาพอใช้ได้ในระยะหนึ่ง
4.8 ชุดควบคุมคุณภาพน้้า
การควบคุมคุณภาพน้้าทางเคมีในสนาม เรากระท้าได้โดยการใช้ชุดควบคุมคุณภาพน้้าที่มี
มากับชุดประปาสนามแต่ละชุด (ชุดประปาสนาม 1 ชุด จะมีชุดควบคุมคุณภาพน้้า 1 ชุด)
ส้าหรับชุดควบคุมคุณภาพน้้านี้มีหลายแบบ แต่ส้าหรับการประปาสนามเราจะจัดอุปกรณ์
และยาที่ใช้ทดสอบได้ตามความจ้าเป็นและสะดวกต่อการใช้สอนเรามีชุดควบคุมคุณภาพน้้าไว้เพื่อใช้
4.8.1 ทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพน้้าทั้งด้านฟิสิกซ์และเคมี หรือทางทหารเราแยกไว้เป็น 3
พวกใหญ่ ๆ คือ
- การทดสอบเพื่อควบคุมน้้าเป็นประจ้า
- การทดสอบเพื่อควบคุมน้้าทางเคมี
- การทดสอบเพื่อค้นหาสิ่งที่เป็นพิษในน้้า