Page 30 - WaterSupply
P. 30
3-7
ภาชนะที่บรรจุโอโซนหรืออุปกรณ์ที่สัมผัสโอโซน ต้องเป็นวัตถุที่ทนทานต่อการกัดกร่อน
เช่น สเตนเลส (Stianless steel) แก้ว, เซรามิคส์, อลูมินั่ม หรือ เทปลอน
4.3.5 การท้าลายด้วยเงิน (Silver)
เงินเป็นแร่ธาตุล้าดับที่ 47 เงินเป็นสารโลหะอิเนิร์ท (Inirt) เงินมีสารประกอบคือ
เงินคลอไรท์ (Silver choride) เป็นสารสีขาว 1 โมเลกุลประกอบด้วยเงิน และ คลอรีน อย่างละ 1 อะตอม
เมื่อถูกแสงสว่างจัด ๆ จะคายอะตอมของเงินกับคลอรีนจะแตกออกจากกันคลอรีนจะกลายเป็นก๊าซ ระเหยไป
อย่างช้า ๆ
4.3.6 การท้าลายด้วยยาเม็ดฮาราโซน (Harazone)
ยาเม็ดฮาราโซน เป็นยาเม็ดกลมแบบขนาด 5 กรัม บรรจุอยู่ในขวดขนาดเล็ก
เพื่อน้าติดตัวไปได้ง่าย ฮาราโซน 1 เม็ด มีค่าเท่ากับ คลอรีนเหลือ 2 PPM.
วิธีการใช้ - น้ายาเม็ดฮาราโซน ใส่ลงในกระติกน้้าที่ได้รับจ่ายประจ้าตัวกระติก
ละ 1 - 2 เม็ด (กระติกน้้า บรรจุ 1 ควอทซ์)
- เขย่าให้ฮาราโซนละลาย
- ปล่อยทิ้ง 20 - 30 นาที (ปกติใช้ 30 นาที)
การท้าลายแบบนี้เป็นการท้าลายเชื้อโรคแบบการท้าลายส่วนบุคคล
4.3.7 การท้าลายด้วยไอโอดีน (Iodine) (I )
2
เท่าที่เคยใช้ในสนามมีทั้งชนิดน้้าและชนิดเม็ด
การใช้
ชนิดน้้า - เติมไอโอดีน 10 ซี.ซี ลงในน้้า 36 แกลลอน
- ปล่อยทิ้งไว้ 30 นาที
ชนิดเม็ด - ใช้ 1 - 2 เม็ด ลงในกระติกน้้า
- ปฏิบัติเช่นเดียวกับฮาราโซน
การท้าลายเชื้อโรคแบบนี้ เป็นการท้าลายเชื้อโรคของหน่วยขนาดย่อมและส่วนบุคคล
4.3.8 การท้าลายด้วยด่างทับทิม
การใช้ ละลายด่างทับทิมลงในน้้า พอเป็นสีชมพูเรื่อ ๆ หรือ อ่อน ๆ ทิ้งไว้ 30 นาที
การท้าลายเชื้อโรคแบบนี้ เป็นการท้าลายส่วนบุคคล
4.3.9 การท้าลายด้วยสารบางชนิด
การท้าลายแบบนี้จะต้องได้รับค้าแนะน้าจากแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ประปาเสียก่อน
4.3.10 การต้มให้เดือด
เป็นวิธีดีที่สุด แต่ระวังจะขัดหลักการพรางเป็นอย่างมาก จะเสียเวลาและอุปกรณ์
4.4 การแก้สิ่งเป็นพิษในน้้า
4.4.1 หากสงสัยว่าน้้าในแหล่งน้้าจะเป็นพิษ และจ้าเป็นที่จะต้องใช้แหล่งน้้านั้นให้ปฏิบัติดังนี้
- รีบจุ่มหัวกรองปลายท่อดูดอย่างเร็ว
- ให้หัวกรองปลายต่อดูดอยู่ต่้ากว่าผิวน้้าอย่างน้อย 2 ฟุต และสูงกว่าพื้นท้องน้้า
ประมาณ 2 ฟุต เพราะสิ่งที่เป็นพิษจะลอยอยู่บนผิวน้้า หรือจะเป็น"หยาด" จมอยู่ในพื้นท้องน้้า
- ในสนามให้ใช้ถ่านไวมาตรฐาน ในอัตราส่วน 1 ออนซ์/น้้า 1,000 แกลลอน
จนถึง 15 ปอนด์/น้้า 1,000 แกลลอน