Page 28 - WaterSupply
P. 28
3-5
- การท้าลายด้วยคลอรีน (Chlorine) หรือ แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ (Calcium hypochlorite)
- การท้าลายด้วยโดลรามีนหรือคลอรามิน (Chloramine)
- การท้าลายด้วยอุลตร้าไวโอเลท (Ultra violate)
- การท้าลายด้วยโอโซน (Ozone)
- การท้าลายด้วยเงิน (Silver)
- การท้าลายด้วยยาเม็ดฮาราโซน (Harazone)
- การท้าลายด้วยไอโอดีน (Iodine)
- การท้าลายด้วยด่างทับทิม
- การท้าลายด้วยสารบางชนิด
- การต้มให้เดือด
4.3.1 การท้าลายด้วยคลอรีน หรือ แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ (Chlorination)
ในข้อนี้นักเรียนต้องแยกค้าว่า "คลอรีน" (Chlorine) กับ"แคลเซียมไฮโปคลอไรท์"
(Calcium Hypochlorite) ในเบื้องต้นนี้เสียก่อน ดังนี้.
คลอรีน - เป็นแก๊สพิษชนิดหนึ่ง - มีสีเขียวอมเหลือง
- หนักกว่าอากาศ 2 1/2 เท่า
- เป็นอันตรายต่อเยื่ออ่อนต่าง ๆ มาก เช่น จมูก ล้าคอ และปอด
- มีกลิ่นฉุนจัดและไม่เกิดการคุ้นกลิ่นแม้จะสัมผัสนาน ๆ
การใช้คลอรีน - "นิยมใช้กับการประปาประจ้าที่เท่านั้น"
- ใช้ด้วยการตั้งอัตราส่วนและปล่อยท้าลายเชื้อโรคในน้้าโดยอัตโนมัติ
- ต้องเก็บไว้ในถังเหล็กกล้า และมีลิ้นปิด - เปิด
ท้าไมไม่ใช้คลอรีนกับประปาสนาม
- เพราะการประปาสนามต้องเคลื่อนที่ไปในภูมิประเทศอาจเกิดการช้ารุดแก่ถังเก็บแก๊สคลอรีนได้
- เมื่อช้ารุดแล้ว ถ้าสูดดมแล้วจะเกิดอันตรายและถึงกับเสียชีวิตได้
- หรือเกิดการรั่ว ถ้าไม่ท้าอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ก็จะท้าอันตรายต่อโลหะได้
แคลเซียมไฮโปคลอไรท์ (Calcium Hypochlorite)
- เป็นตัวท้าลายเชื้อโรคในการประปาสนาม
- เป็น "คลอรีน" ซึ่งมาในรูปของแคลเซียมไฮโปรคลอไรท์
- เมื่อถูกความชื้นหรือท้าให้เปียกจะคายแก๊สคลอรีนออกมาท้าลายเชื้อโรคในน้้า
- มาในรูปเกล็ด จะมีแก๊สคลอรีนอยู่ 70 %
- มาในรูปผงละเอียดจะมีแก๊สคลอรีน 60 %
อันตราย - คล้ายกับแก๊สคลอรีนแต่น้อยกว่า
การเก็บ - เก็บไว้ในที่แห้งและเย็น
- ไม่ควรเก็บไว้เกิน 1 ปี
การใช้ - ต้องน้ามาละลายน้้าเสียก่อน ตามอัตราส่วนที่พอเหมาะ
4.3.2 การท้าลายด้วยโคลรามีน (คลอรามีน) (Chloramine)
โคลรามีนหรือคลอรามีนนี้เกิดจากการกระท้าปฏิกิริยากั่นระหว่าง " แอมโมเนีย "กับ
"คลอรีน"