Page 24 - WaterSupply
P. 24

3-1

                                                         บทที่ 3

                                            กรรมวิธีในการท้าน้้าให้สะอาด

               กล่าวน้า
                      ในบทเรียนที่  2   นักเรียนได้ทราบถึงเรื่องต่าง ๆ   ที่เกี่ยวกับความเป็นมาของน้้าทั้งแบบ ธรรมดา และไม่
               ธรรมดา (พิษ) มาแล้ว

                      ในบทเรียนนี้จะแนะน้าให้ทราบถึง      กรรมวิธีในการแก้ไขน้้าให้สะอาดแบบต่าง ๆ    ในอนาคตเมื่อต้อง
               พบกับน้้าตามบทที่ 2 จะได้แก้ไขได้ถูกต้อง และปลอดภัยส้าหรับตัวเองและผู้อื่นต่อไป

               1. การท้าความสะอาดด้วยตัวเอง

                       มีบ่อยครั้งในสนาม  ที่พบกับแหล่งน้้าที่ท้าความสะอาดด้วยตัวเอง  เช่น  เคยพบแหล่งน้้าซึ่งเคยใช้ไม่ได้
               แต่ภายหลังต่อมากลับพบแหล่งน้้าเดิมกลายเป็นแหล่งน้้าที่ใช้ได้ เป็นต้น
                       ในสภาวะที่เหมาะสมของธรรมชาติจะช่วยท้าให้สะอาดได้โดยเฉพาะแหล่งน้้าบนดิน
                      หมายเหตุ  การท้าความสะอาดด้วยตัวเองนี้  มิใช่ว่าน้้านั้นจะสะอาดและปลอดภัยเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ

               การท้าน้้าให้สะอาดเท่านั้น ข้อดีก็คือ ลดงานของเจ้าหน้าที่ประปาลงบ้างเท่านั้น

                      1.1 แหล่งน้้าไหล
                                เมื่อฝนตกลงมาสู่พื้นดิน  ส่วนที่ซึมลงใต้ดินไม่ทันจะไหลลงสู่ที่ต่้า  ขณะไหลนั้นจะพัดพาเอาสิ่ง
               ต่าง ๆ ที่เกาะตัวกันอย่างหลวม ๆ มาด้วย   และจะไหลลงสู่แม่น้้า, ล้าธาร หรือล้าห้วย ถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นว่า
               ต้นน้้าจะไหลแรงและจะขุ่นมากเพราะมีสิ่งที่ลอยปะปนอยู่มาก

                                เมื่อปล่อยให้น้้าไหลเรื่อย ๆ ไป น้้าจะค่อย ๆ ไหลช้าลง ๆ สิ่งต่าง ๆ ที่ลอยปะปนมาด้วยแต่
               แรกที่มีขนาดใหญ่และมีน้้าหนักมากจะค่อยจมลงสู่พื้นน้้า  และถ้าไหลเป็นระยะทางไกล ๆ สิ่งที่มีขนาดเล็กและ
               เบาจะตกลงสู่พื้นน้้า (เว้นดินเหนียว) เมื่อเป็นเช่นนี้ น้้าที่อยู่ท้ายน้้าไกล ๆ จะเริ่มใสขึ้น ๆ เรื่อย ๆ

                                อีกอย่างหนึ่ง ขณะที่น้้าไหลนั้น  จะเกิดการเสียดทานกับตลิ่งบ้าง สิ่งอื่นบ้าง จะเกิดการหมุน
               วน จะท้าให้น้้าซึมมีทั้งกรดและด่างอยู่แล้ว ท้าปฏิกิริยากันจนเกิดเป็นตะกอนรวม (Floc) ได้
                                จากข้างต้น หากน้้ามันพัดพาสิ่งปฏิกูล จากท่อระบายน้้าของชุมชน หรือโรงงานอุตสาหกรรม
               มาด้วย  และน้้าไหลอ่อนหรือนิ่ง  ส่วนที่ตกตะกอนจะเป็นโคลน  และในไม่ช้าโคลนนี้จะสลายตัวกลายเป็นแก๊ส

               หลาย ๆ อย่าง เช่น แอมโมเนีย, คาร์บอนไดออกไซด์, มีเทน และมีแก๊ส อื่นๆ เป็นต้น และจากแก๊สต่าง ๆ จะ
               ท้าให้น้้าเกิดฟองอากาศขึ้นไม่หยุดหย่อน เมื่อถึงจุดนี้ปลาจะอาศัยอยู่ไม่ได้เว้นแต่เต่า
                                หากปล่อยให้น้้านั้นถูกแสงแดดผ่านอยู่เสมอ  ๆ  น้้าจะใสขึ้นมาเอง  ต่อจากนั้นออกซิเจนจะ

               เกิดขึ้นบนผิวหน้าของน้้า  และเกิดการแปรธาตุไปได้อีกหลายอย่างจนเป็นอาหาร  (ปุ๋ย)  ของพืช  ต่อมาจะเป็น
               สาหร่ายสีเขียว  สาหร่ายจะดูดคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อเป็นอาหารและคายอ๊อกซิเจนออกมาเป็นอย่างนี้นาน ๆ
               น้้าจะคืนสู่สภาพปกติ
                             อ๊อกซิเจนที่สาหร่ายคายออกมา   สัตว์น้้าจ้าพวกปลาและอื่น ๆ   จะอาศัยอ๊อกซิเจนด้ารงชีวิตอยู่ได้

               พร้อมทั้งกินจุลินทรีย์และแมลงเป็นอาหาร  ดังนี้จุลินทรีย์จะลดลงอย่างมาก  แต่อย่าคิดว่าน้้านั้นปลอดภัยแล้ว
               เพราะเชื้อโรคบางชนิดยังไม่ตายหมด

                      1.2 แหล่งน้้านิ่ง
                                 เช่น  ทะเลสาบ,  อ่างเก็บน้้า,  สระน้้า  หรือ  แหล่งน้้าอื่น ๆ   ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันก็มี

               การท้าความสะอาดตัวเองได้คล้าย ๆ กันกับที่กล่าวมาแล้ว  แต่มีอีกวิธีหนึ่ง ที่ใช้การหมุนเวียนตามฤดูกาลท้า
               ความสะอาดได้  เช่น  แหล่งน้้านิ่งไม่มีโอกาสถ่ายเทได้  แต่พอถึงฤดูฝนควรปล่อยให้น้้าฝนไหลลงอย่างแรง  ๆ
               น้้าฝนที่ไหลลงไปใหม่นี้จะช่วยดันน้้าเก่าให้ล้นออกและเข้าไปแทนที่ก็นับเป็นวิธีการท้าความสะอาดน้้าได้วิธีหนึ่ง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29