Page 20 - WaterSupply
P. 20
2-6
1.5.3 สารที่เป็นพิษ
ในการรบนั้น ย่อมหวังผลในชัยชนะเป็นส้าคัญ ดังนั้นแต่ละฝ่ายต้องมีการค้นหา
และให้ฝ่ายตนได้เปรียบมากที่สุด เช่น การกระท้าทางสงครามนิวเคลียร์ ชีวะ, เคมี เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อความมุ่ง
หมาย
- ในทางตรง เพื่อท้าให้มนุษย์, สัตว์, และ พืช บาดเจ็บล้มตาย
- ในทางอ้อม ใช้เพื่อขัดขวางการใช้พื้นที่, สิ่งอ้านวยความสะดวกหรือ
ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ
2.5.3.1 แอลคาลอยด์ (Alkaloide) เช่น นิโคติน (Nikotin) สตริ๊ดนิน (Strycnine)
หรือโคซิซิน(Colchlcine)อาจท้าให้แหล่งน้้าขนาดเล็กเป็นพิษได้จะไม่เป็นผลต่อแหล่งน้้าขนาดใหญ่
2.5.3.2 อาร์ซินิค (Arsenic) (AS) เป็นสารประกอบของสารหนู มีการใช้อย่างจ้ากัด
เช่นเดียวกับแอลคาลอยด์
2.5.3.3 อาร์ซีไนท์ (Arsenite) เป็นสารของสารหนูอีกชนิดหนึ่งคงเช่นเดียวกัน แต่
เหนือกว่าที่ใช้เป็นยาฆ่าหนู และแมลงได้ดีด้วย
2.5.3.4 ไซยาไนด์ (Syanide) (CN) เป็นสารประกอบไม่ใช่แร่ธาตุ
แหล่งก้าเนิด จากโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น
- โรงงานเหล็กกล้า
- โรงงานชุบโลหะ
- โรงงานผลิตภัณฑ์เคมีบางชนิด
แหล่งที่พบ
- แม่น้้า, ล้าคลอง หรือ อื่น ๆ ที่รองรับน้้าเสียจากโรงงานที่กล่าวมาแล้ว
ข้อก้าหนด ยอมให้มีได้ไม่เกิน 0.2 ส่วนใน 1,000,000 ส่วน
หมายเหตุ ไซยาไนด์นี้ อาจถูกย่อยสลายได้โดยแบคทีเรีย หรือ คลอรีน
ก็สามารถท้าลายได้
น้้าเป็นพิษในสนามนั้น เราแยกออกได้เป็น 2 อย่าง คือ
- เจตนา หมายความว่า ฝ่ายตรงข้ามน้าสารพิษมาใส่ลงในแหล่งน้้าเพื่อให้ฝ่ายเราเกิดอันตราย โดย
โปรยจากเครื่องบินจากการทิ้งระเบิดหรือ การยิงจากปืนใหญ่ เป็นต้น
- ไม่เจตนา หมายความว่า เกิดจากการสู้รบ จนกระทั่งน้้าในแหล่งน้้าเป็นพิษได้
- การแก้สารพิษ (น้้าที่เป็นพิษ) ดูจากบทที่ 3 ข้อ 6 หน้า
สรุป
ในบทเรียนนี้ นักเรียนได้ทราบถึงว่า วัฏจักรของน้้าเกี่ยวกับการประปาอย่างไร เมื่อฝนตกลงสู่พื้นดิน
แล้วจะท้าให้เกิดการแยกตัวออกเป็นแหล่งน้้าบนดิน (ผิวดิน) และน้้าในดิน (ใต้ดิน) เมื่อน้้าผ่านสิ่งต่าง ๆ ทั้งแร่
ธาตุ และ จ้าพวกที่เกาะอยู่อย่างหลวม ๆ ก็จะละลายหรือพัดพาสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นมาด้วย ท้าให้เกิดเป็น
ลักษณะของน้้าตลอดจนเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ที่จะท้าให้ผู้บริโภคเกิดเป็นอันตรายได้
----------------------------