Page 18 - WaterSupply
P. 18
2-4
การท้าลาย ท้าลายได้ด้วยคลอรีน (Chlorine)
1.4.4 บิดมีเชื้อ (Bacillary dysentery)
อาการ ถ่ายเป็นมูกเลือด, ถ่ายบ่อย และปวดท้องอย่างรุนแรง
การแพร่เชื้อ อุจจาระของผู้ป่วย
ระยะฟักตัว 2 - 3 วัน (48 - 72 ชม.)
อายุ อากาศเย็นจะมีชีวิตได้หลายวัน แม้แต่ในดิน หรือ เสื้อผ้าผู้ป่วย
การท้าลาย ท้าลายด้วยคลอรีนได้
1.4.5 บิดไม่มีเชื้อ (Endamoega historytica)
การแพร่เชื้อ จากซิลท์ (Cysts) ของอมิบา (Ameba) ซึ่งมากับอุจจาระของผู้ป่วย
- ซิลท์ มีลักษณะเป็นเปลือกถุงขาวหุ้มอะมิบา หากปล่อยให้ถูกแสงแดดให้แห้ง
จะตายภายใน 2 - 3 นาที
ระยะฟักตัว เกณฑ์เฉลี่ย 10 วัน
ข้อพึงระวัง ซิลท์ของโรคชนิดนี้เล็กมาก เป็นแล้วรักษายากและใช้เวลารักษานาน
1.4.6 โรคซิสโตโซมาอาซิส ( Schistosmiasis) ซึ่งเกิดจากพยาธิตัวเล็ก ๆ
(Schistosome)
อาการ แล้วแต่ชนิดของ "ซิสโตโซม" (Schistosome)
ชนิดที่ 1 คือ Schistosome Hacmotobium พบมากในแอฟริกา
อาการ เกิดเจ็บป่วยทางกระเพาะปัสสาวะ จะท้าให้ปัสสาวะเป็นเลือด
ชนิดที่ 2 คือ Schistosome mansoni พบมากในตอนเหนือของอเมริกาใต้
อาการ ท้าอันตรายต่อล้าไส้เล็กส่วนล่าง และล้าไส้ใหญ่ติดต่อกับกระเพาะอาหาร
ท้าให้กระเพาะทะลุได้
ชนิดที่ 3 คือ Schistosome Japonicum พบมากในจีนและญี่ปุ่น
อาการ แสดงอาการต่อล้าไส้ใหญ่ และลุกลามไปยังตับและม้ามด้วยพยาธิตัวนี้บางที
เรียกว่า "พยาธิตับ"
การติดต่อ เข้าสู่ร่างกายด้วยการสัมผัส เช่น อาบน้้า, ว่ายน้้า, ล้างมือ,
ล้างเท้า หรือด้วยการดื่ม
ซิสท์โตโซมทุกชนิดที่กล่าวมาแล้วนั้น จะฟักตัวเป็นหนอนและตัวเล็กมากอาศัยอยู่ใน
น้้าจืดอย่างอิสระ ระยะนี้จะไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ ต่อเมื่อตัวหนอนที่มีไข่ของพยาธิเหล่านี้เข้าไปอาศัยอยู่ใน
หอยโข่งมักจะเปลี่ยนรูปเป็น "เซอร์คาเรีย" (Cercariae)
จึงจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ตัวหนอนดังกล่าวนี้หากไม่ฟักตัวในหอยจะตายภายใน 24 ชม.
วิธีก้าจัด - เก็บหอยทิ้ง
- ปล่อยน้้าที่เก็บพวกหอยออกแล้วทิ้งไว้ 36 ชม.
การท้าลาย ท้าลายด้วยคลอรีน
สิ่งบอกเหตุ น้้าในแหล่งน้้าขุ่นมากผิดปกติ
1.4.7 โรคท้องร่วงธรรมดา
อาการ ถ่ายบ่อย เหลวเป็นน้้า ถ่ายมากอาจเป็นตะคริวได้
การติดต่อ จากน้้าสกปรก
การป้องกัน อย่าให้ก้าลังพลบริโภคอาหารหรือน้้าดื่มที่ไม่แน่ใจว่าสะอาดพอ