Page 19 - WaterSupply
P. 19

2-5

                                   หมายเหตุ  โรคที่กล่าวมาแล้วจะแยกออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ชนิดที่ต้านคลอรีนได้

                                                    ชนิดที่ต้านคลอรีนไม่ได้
                                ดังนั้น  จึงต้องมีความรอบคอบและประณีตอย่างมาก  ในการใช้สารเคมีในการท้าลายเชื้อโรค
               และต้องปฏิบัติตามค้าแนะน้าการใช้อย่างเคร่งครัดด้วย
                                การท้าลายเชื้อโรคในน้้าดูจากบทที่ 3 ข้อ 5 หน้า 22 ว่าด้วยการท้าลายเชื้อโรคในน้้า

                      1.5 สิ่งที่เป็นพิษในน้้า

                              ตั้งแต่วัฏจักรของน้้า,ลักษณะของน้้า,สิ่งที่ไม่บริสุทธิ์ชนิดธรรมดาในน้้าและโรคต่าง ๆ  ในน้้าที่
               กล่าวมาแล้ว เราถือเป็นเรื่องปกติธรรมดาการแก้ไขก็ไม่ต้องแก้เป็นพิเศษมากนัก
                              แต่สิ่งที่เป็นพิษในน้้าหรือน้้าที่เป็นพิษ  เป็นเรื่องที่ไม่ธรรมดา  แม้แต่การส้ารวจ (วิเคราะห์)
               หรือการแก้ไขก็ต้องกระท้าเป็นพิเศษจากที่กล่าวมาข้างต้น จะชี้ให้เห็นชัดสัก 2 ชนิด ที่คุ้นหู หรือ ได้ยิน เกือบ

               ทุกวันคือ

                              1.5.1 ความเป็นพิษจากตะกั่ว
                                      เมื่อร่างกายของมนุษย์ไม่สามารถขจัดสารตะกั่วที่รับเข้าไว้ในร่างกายได้          ดังนั้น
               เมื่อดื่มน้้าที่มีสารตะกั่วเข้าไปครั้งละเล็กละน้อย จะเกิดการสะสมสารตะกั่วในร่างกาย

                              ดังนั้น  เมื่อร่างกายสะสมสารตะกั่วไว้มากเกินกว่าร่างกายจะทนความต้านทานได้  สารตะกั่วจะ
               แสดงอาการเป็นพิษแก่ร่างกาย
                             น้้าที่น่าจะมีสารตะกั่วอยู่ ได้แก่
                                    - น้้าที่ค่าเป็นกรดมาก

                                    - น้้าในหนอง,ในบึง ที่อยู่ใกล้สิ่งที่ปล่อยควันพิษ
                                    - น้้าที่ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหนัก
                                    - และเวลานี้ น้้าฝนในบางที ก็อาจจะมีสารตะกั่วเจือปนอยู่ได้
                             ฉะนั้น เจ้าหน้าที่ประปา ไม่ควรแจกจ่ายน้้าที่มีสารตะกั่วผสมอยู่มากกว่า 0.05 ส่วนใน 1,000,000 (PPM)

                             พิษจากตะกั่ว  ท้าให้ร่างกายผิดปกติ เช่น
                                    - กล้ามเนื้อแขนวายอย่างช้า ๆ
                             การเข้าสู่ร่างกาย   สารตะกั่วสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น

                                    - ทางอาหาร
                                    - ทางลมหายใจ และทางด้านยาสูบ
                                    - ทางน้้าดื่ม และ เครื่องดื่มมึนเมา
                              การก้าจัด

                                    - โดยวิธีตกตะกอน
                                    - โดยวิธีการกรอง

                              1.5.2 ฟลูออไรด์  (Fluoride)
                                     ฟลูออไรด์ไม่ใช่สารพิษ  แต่ฟลูออไรด์ในน้้าจะช่วยป้องกันโรคฟันผุได้  ดังนั้น  ใน

               น้้าประปาควรมีฟลูออไรด์ไม่มากกว่า  1.0   ส่วนใน   1,000,000  แต่อนุโลมให้ได้ถึง 1.5 ส่วนใน 1,000,000
               แต่ถ้ามากกว่านี้แทนที่จะเคลือบฟันเป็นเงางามกลับจะท้าให้ฟันด้าหรือลายได้
                             ดังนั้น เจ้าหน้าที่ประปาให้มีฟลูออไรด์ในน้้าประปาได้ไม่มากกว่า 1.0 ส่วนในล้านเป็นดีที่สุด
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24