Page 17 - WaterSupply
P. 17

2-3

                        -  สีที่ปรากฏ

                                        สีที่ปรากฏ  หมายถึงสีของน้้าที่สามารถก้าจัดออกได้ด้วยวิธีกายภาพ  เช่น  การตกตะกอน
               หรือการกรอง และเมื่อก้าจัดสีที่ปรากฏแล้ว บางครั้งสีแท้หรือสีจริงจะปรากฏให้เห็น (ถ้ามี)

                              1.2.4 ความขุ่น  (Turbidity)
                                                ความขุ่นเกิดจากสิ่งที่ลอยปะปนมากับน้้า (สารแขวนลอย) เช่นทราย,โคลน
               ไปจนถึงจ้าพวกอินทรีย์วัตถุ เช่นพืชที่เน่าเปื่อยและมูลสัตว์เป็นต้น

                      1.3 สิ่งที่ไม่บริสุทธิ์ชนิดธรรมดาในน้้า (Common Impurities in water)(ดูตารางที่ 3หน้า 12)

                              สิ่งที่ไม่บริสุทธิ์ชนิดธรรมดาในน้้าหมายถึง  น้้าที่มีสิ่งเจือปน  จน  แปรสภาพไปตามสิ่งที่เจือปน
               เหล่านั้นและเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
                              นักเรียนจะสังเกตเห็นว่า จากวัฏจักรของน้้า  และลักษณะของน้้าจริง ๆ  นั้น น้้าสะอาด

               และบริสุทธิ์โดยไม่ต้องแก้ไขก็ใช้ได้  สามารถน้ามาดื่มได้  แต่ที่ต้องมีการแก้ไขก็เพราะต้องการแยกเอาสิ่งเจือปน
               มากับน้้าออกเสียจากน้้านั่นเอง (ดูตารางที่ 3)

                      1.4 โรคต่าง ๆ ที่มากับน้้า
                              โรคต่าง  ๆ  ที่มากับน้้า  เป็นโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารเกือบทั้งสิ้น  เท่าที่ค้นพบ  มี
               มากกว่า  100  ชนิด  แต่ในบทเรียนนี้จะขอแนะน้าให้ทราบเพียง  7  ชนิดเท่านั้น  เป็นโรคที่คุ้นหู  โดยเฉพาะใน

               สนามรบ

                              1.4.1 ไข้ไทฟอยด์
                                            อาการ   ผู้ป่วยจะเกิดเป็นผื่นแดงปรากฏบนผิวหนังมีไข้สูงและจะมีไข้อยู่
               ประมาณ 4 สัปดาห์ ถ่ายท้องบ่อย

                                     ชื่อของโรค  -  Bacill Typhosus
                                            การท้าลาย      ท้าลายได้ด้วยคลอรีน (Chlorine) (CL )
                                                                                        2
                                            ระยะฟักตัว     3 - 40 วัน เฉลี่ย 7 - 10 วัน

                              ผู้ที่เคยเป็นโรคนี้แล้ว  จะเกิดภูมิคุ้มกันโรคขึ้นอย่างถาวร      และจะไม่เป็นโรคนี้อีกหากได้รับ
               เชื้อโรคในภายหลัง
                                     พาหะ            น้้าที่ผ่านอุจจาระผู้ป่วย ถ้าให้อยู่ในน้้าธรรมดาจะมีอายุเพียง

                1 สัปดาห์ แต่ถ้าอยู่ในน้้าแข็งจะอยู่ได้นานถึง 3 เดือน

                              1.4.2 ไข้พาราไทฟอยด์
                                     อาการ            คล้าย ๆ กับโรคไทฟอยด์มาก
                                     ระยะฟักตัว      4 - 10 วัน เฉลี่ย 7 วัน
                                     การท้าลาย       ท้าลายได้ด้วยคลอรีน (Chlorine)

                                                  ผู้ที่เป็นโรคนี้จะเกิดภูมิคุ้มกันขึ้นจะไม่เป็นอีก แต่อาจจะเป็นไข้ไทฟอยด์ได้

                              1.4.3 อหิวาตกโรค
                                     อาการ  อาเจียน,  เป็นตะคริว,  ถ่ายท้องอย่างแรง,  อ่อนเพลีย  หมดสติอย่างรวดเร็ว,
               ความร้อนในร่างกายจะลดลงอย่างผิดปกติ

                                     การแพร่เชื้อ  จากอุจจาระของผู้ป่วย (ในสภาวะที่เหมาะสมจะแพร่เชื้อเป็นทวีคูณ)
                                     พาหะ               น้้า, อาหาร และ การสัมผัส
                                     ระยะฟักตัว        3 วัน (จะติดเชื้อเพียง 2 - 3 ชม. เท่านั้น)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22