Page 26 - WaterSupply
P. 26
3-3
3.3 เครื่องช่วยพิเศษ ในการสื่อชักตะกอนมักพบอยู่เสมอในน้้าที่ไม่ยอมตกตะกอน หรือตะกอน
ลอยขึ้นมาบนผิวน้้า หรือตะกอนไม่มีน้้าหนักพอที่จะตกลงก้นถัง เจ้าหน้าที่จะต้องหาวัสดุอื่นเข้ามาช่วยเป็นตัวถ่วง
ให้น้้าตกตะกอน เช่นการใช้
- เบนโทไนท์
- ดินฟลูเรอร์
- หรือดินในท้องถิ่น
- ถ้าเจ้าหน้าที่มีความช้านาญพออาจจะใช้ปูนซีเมนต์แทนโซดาแอ๊ซ
ท้าไมน้้าจึงใส เป็นค้าถามที่ทหารช่างทุกคนควรตอบโต้โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่การประปาสนามขอ
อธิบายสั้น ๆ และ ง่าย ๆ ดังนี้
เมื่อเราป้อนสารส้มลงในน้้า (ตามอัตราส่วน) และกวนจนน้้าหมุนอย่างแรง สารส้มจะท้าปฏิกิริยา
กับด่างในน้้า (ถ้าไม่พอต้องเพิ่มตามอัตราส่วน)จะเกิดเป็นวุ้นเหนียวๆ ที่ไม่ละลายน้้าคล้าย ๆ ร่างแหจับเอาสิ่งที่
แขวนลอยอยู่ในน้้าจับตัวเป็นก้อนใหญ่น้้าหนักตกลงก้นถัง น้้าจึงใส
อธิบายเพิ่มเติม
ขบวนการ "โคแอคคูเลชั่น" (Coagculation) เมื่อเราป้อนสารเคมีลงในน้้าและ หมุนอย่างแรงจน
เป็น "ไฮดร๊อกไซด์" (Hidroxide) ไฮดร๊อกไซด์นี้จะท้าให้มีประสิทธิภาพในการเกาะกันของสารแขวนลอยในน้้า
จนรวมตัวกันเป็นก้อนขนาดใหญ่และมีน้้าหนัก จนสามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยตาเปล่าที่เราเรียกว่า
"ฟลอค" (Floc) ฟลอคนี้จะตกลงสู่ก้นถังท้าให้น้้าใส การใช้สื่อชักตะกอนนี้ สามารถน้าไปใช้ในสนาม (ส่วน
บุคคล) ได้ดีเพียงแต่มีสื่อชักตะกอนติดตัวไปเล็กน้อยเท่านั้น ส่วนภาชนะขังน้้านั้นหาใช้ในสนาม (ดูรูป)
รูปที่ 3.1 แสดงการตกตะกอนของน้้า
Coagulation or Flocculation
- สารส้ม
- FeCl , FeSo
4
3
Floc Floc Sludge
1 2 3
ถังกวนเร็ว ถังกวนช้า ถังตกตะกอน
4. การกรอง
การกรองน้้านี้ เราแบ่งการกรองออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
- การกรองแบบติดผิวชั้นกรอง
- การกรองแบบติดค้างในชั้นกรอง