Page 39 - WaterSupply
P. 39
4-7
5.4.4 แบบที่ 4 สรุปความสิ้นเปลืองสารเคมี, น้ ามันเชื้อเพลิงและน้ ามันหล่อลื่น
(1) สถานที่ แผนที่....ระวาง....พิกัด.....(คงเหมือนกับแบบ 1 แบบ 2)
(2) วัน,เดือน,ปี.......ให้ยกการปฏิบัติงานประจ าวัน แบบที่ 2 และ 3 มาลง
นอกนั้นให้ยกเอาแบบรายงานประจ าวัน (แบบที่ 3) มาลง
4.4 รายงานการทดสอบ
5.5.1 การท าโดยนายทหารช่างประปาหรือผู้แทนส่วนมากจะเป็นหน้าที่ของ หน .ชุดหรือนาย
สิบการประปาอาวุโส เป็นการทดสอบในสนามตามความจ าเป็น วัน, เวลา และ ล าดับการทดสอบ ต าบลจ่ายน้ า
แต่ละแห่งควรสลับ ก่อน - หลัง ในแต่ละวันเรื่อยไป
5.5.2 ตัวอย่างน้ าที่ท าการทดสอบต้องเป็นตัวอย่างน้ าที่ได้รับการแก้ไขให้สะอาดแล้ว และส่ง
ให้แพทย์ท าการวิเคราะห์หาเชื้อโรคประมาณสัปดาห์ละ 3 ครั้ง เมื่อแพทย์วิเคราะห์แล้วจะส่งผลการวิเคราะห์
กลับมายังต าบลจ่ายน้ าเพื่อการบันทึกเป็นสถิติ และท าการแก้ไขตามค าแนะน าของแพทย์
5.5.3 การตรวจโดยทหารสุขาภิบาล (แพทย์) ทั้งนี้เพื่อให้น้ าที่แจกจ่ายออกไปนั้นปลอดภัย
จากเชื้อโรค การตรวจด้วยแพทย์นี้จะท าเป็นระยะ ๆ ไป เช่น
- การตรวจค่าคลอรีนเหลือ
- การตรวจหาเชื้อโรคที่มีอยู่ในน้ า
เมื่อท าการทดสอบ (วิเคราะห์) ในห้องทดลองแล้วปรากฏว่าน้ ามัน ไม่ปลอดภัยอาจสั่งการให้
งดการแจกจ่ายเสียก็ได้
สรุป
ในบทเรียนนี้นักเรียนได้ทราบถึง การลาดตระเวนแหล่งน้ าทั้งชั้นต้นและการลาดตระเวนพื้นดิน
ขอย้ าให้ทราบอีกครั้งหนึ่งว่า การลาดตระเวนแหล่งน้ าชั้นต้นนั้น บางครั้งเราไม่จ าเป็นต้องออกปฏิบัติในสนามก็
ได้โดยอาศัยข่าวกรองของฝ่ายเรา หรือจากแหล่งที่กล่าวไว้แล้วหรือจะท าการลาดตระเวนทางอากาศ หรือทาง
ยานยนต์ก็แล้วแต่สถานการณ์ ส่วนการลาดตระเวนทางพื้นดินนั้น หากโอกาสอ านวยต้องกระท าทุกครั้ง เพราะ
การลาดตระเวนทางพื้นดินนี้เป็นการลาดตระเวนที่ได้ผลแน่นอน เกี่ยวกับแหล่งน้ าและอื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้ว
ตั้งแต่บทที่ 1 ถึงบทที่ 4 นี้ เราก็เริ่มมีสถิติต่าง ๆ พอที่จะบันทึกลงในแบบของสถิติการประปาได้แล้ว
ฉะนั้นสิ่งใดบันทึกได้ก็บันทึกทันที อย่าใช้ความจ าเพียงอย่างเดียว อาจจะท าให้การปฏิบัติงานคลาดเคลื่อน
ไปด้วย
---------------------