Page 37 - WaterSupply
P. 37

4-5

                                  ขนาดที่พอเหมาะ

                                        - สารส้ม.........ปอนด์/น้ า.......แกลลอน คือ หลังจากทดสอบหาสื่อชักตะกอนแล้ว
               น าจ านวนของน้ ายาสารส้ม,  โซดาแอ๊ซ  หรือ  อื่น  ๆ  ไปเข้าสูตรจะบันทึกจ านวนสื่อชักตะกอนเป็นปอนด์ต่อน้ า
               (คือ ความจุของถัง)
                                        - ค่า PH  ที่เหมาะ ได้จากขวดใดขวดหนึ่งที่น้ าตกตะกอนดีที่สุดเพื่อใช้เป็นค่าหลักใน

               ครั้งต่อ ๆ ไป
                                     (7) ความต้องการคลอรีน
                                        - คลอรีนที่มีอยู่เดิม.........(คือน าน้ าดิบมาตรวจหาค่าคลอรีนที่เหลือ)
                                        - ขนาดคลอรีนที่ใช้ทดสอบ....PPM. (บันทึกว่า 6 PPM.)

                                        - คลอรีนเหลือ..............น าค่าคลอรีนเหลือจากขนาดคลอรีนที่ใช้ทดสอบมาบันทึก
                                       - ความต้องการคลอรีน.....PPM. เป็นผลต่างระหว่างคลอรีนที่ใช้ทดสอบ
               กับคลอรีนเหลือ  หรือ  ตั้งด้วย  6   แล้วลบด้วยคลอรีนเหลือ  เช่น  6 - 4 = 2 PPM.
                                        - ขนาดการใช้คลอรีน...........คือ น าผลต่างที่ได้จากความต้องการคลอรีนมาตั้งและ

               บวกด้วยค่าคลอรีนเหลือที่เราตั้งไว้ เช่น ต้องการให้เหลือ 1 PPM. ก็น า  2  มาบวกกับ 1 = 3 PPM. (2 x 1  =
               3 PPM.) แล้วน า 3 PPM. ไปเข้าสูตรความต้องการคลอรีน (สูตรอยู่ท้ายบทเรียน)
                                        (8)  การทดสอบทางเคมี  การทดสอบทางเคมีนี้  แต่ละบริษัทผู้สร้างจะไม่เหมือนกันให้

               ปฏิบัติตามคู่มือของบริษัทนั้น ๆ และขณะนี้เราใช้ชุดควบคุมคุณภาพน้ า ที่ กช. วิจัยและพัฒนาขึ้นมาเอง
                                        (9) การทดสอบสิ่งที่เป็นพิษในน้ าก็คงปฏิบัติเช่นเดียวกันกับ ข้อ (8)
                                        (10) ลงนาม............(ผู้ท าการทดสอบลงนาม)


                                 5.4.2 แบบที่ 2 การบันทึกสถิติการแจกจ่ายน้ าประจ าวัน
                                              (1) วัน.....เดือน......ปี.....ลงวันเดือนปีที่ท างานในครั้งนั้น ๆ
                                              (2) สถานที่........บันทึกแผนที่,ระวาง,พิกัด, (หรือ บ้าน,หมู่ ฯ)

                                              (3)  เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่เวลา......ถึง......(ลงเวลาที่ปฏิบัติงาน)  ในวันนั้น  ๆ
               ตั้งแต่เวลาเท่าไรถึงเวลาเท่าไร เป็นวัน ๆ ไป
                            หมายเหตุ  ต้องระลึกอยู่เสมอว่า เวลาปฏิบัติงานในสนามนั้น  จะก าหนดตายตัวไม่ได้ การลงเวลา
               ต้องท าเป็นวัน ๆ ไป เช่น วันที่ 1 เริ่มเวลา 0600 - 1800 แต่วันที่ 2

               เริ่มเวลา 0500 - 1200 เป็นต้น
                                              (4)  เวลาจ่ายน้ า ให้บันทึกเป็นจ านวนเต็ม ไม่ต้องเศษ เช่น 0600 - 0700
               หรือ 1300-1400 พอหมด ชม. แล้วให้เริ่มใหม่ จนกว่าจะหมดเวลาท างานที่ก าหนดไว้ตาม (3)

                                              (5) นามหน่วยหรือหมายเลขรถ............ถ้ารู้จักนามหน่วยให้ลงนามหน่วย
               เช่น ช.พัน.4 ร้อย บก.ฯ หรือ ร.พัน.5  ร้อย 1 ในการสงครามนั้นบางครั้งเราต้องขอความร่วมมือจากฝ่ายพล
               เรือนที่ใกล้เคียง    เช่น  ขอยืมรถน้ าจากกรมป่าไม้, เทศบาลต่าง ๆ      หรือ
               หน่วยงานใดที่มี รถบรรทุกน้ าต้องปฏิบัติเช่นเดียวกับทางฝ่ายทหาร

                           หมายเหตุ  แบบที่ 2 นี้ ถ้าต้องสนับสนุนหลายหน่วยก็ให้ท าขึ้นหลายแผ่น เพื่อให้พอกับจ านวนหน่วย
               ที่มาของรับน้ า
                                              (6) รวม......หมายถึงการรวมการแจกจ่ายแต่ละ ชม. และสรุปยอดแต่ละวัน

                                              (7) หมายเหตุ..........บางครั้งอาจเป็นช่องที่ใช้เป็นที่เซ็นชื่อผู้รับน้ า
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42