Page 337 - วิชายุทโธปกรณ์สายช่าง ชั้นนายพัน
P. 337
5-9
5.9 การปรนนิบัติบ ารุง
5.9.1 การปรนนิบัติบ ารุงทุก 10 ชั่วโมงหรือประจ าวัน
5.9.1.1หม้อน ้ารังผึ้ง ตรวจสภาพ,ระดับน ้า (ระดับน ้าที่ถูกต้อง ต้องต ่ากว่าคอหม้อน ้า
ตอนบน 1 ถึง 1.5 นิ้ว)
5.9.1.2 ตัวกรองอากาศขั้นต้น ตรวจถอดออกท าความสะอาดเมื่อจ าเป็น
5.9.1.3 ห้องเพลาข้อเหวี่ยงเครื่องยนต์ ตรวจระดับน ้ามันเครื่อง (จอดรถให้ได้ระดับ)
(ก่อนติดและขณะเครื่องยนต์เดินเบา)
5.9.1.4 ถังรับลมอัด ถ่ายความชื้นและน ้าออกให้หมด (ถังรับลมอัด 1 ถัง แบ่งออกเป็น
2 ตอน)
5.9.1.5 ตัวแยกน ้า ถ่ายน ้าทิ้ง ตรวจสภาพ (อย่าให้มีน ้าอยู่ในตัวแยกน ้ามากกว่าครึ่งหนึ่ง)
5.9.1.6 ถังน ้ามันเชื้อเพลิง ตรวจสภาพ ถ่ายน ้าตะกอนออก
5.9.1.7 แผ่นประกับวงกลม อัดไขข้นรวม 6 หัวรับไข (อยู่ใต้วงกลมหมุนใบมีด)
5.9.1.8 คราด อัดไขข้นรวม 4 แห่ง
5.9.1.9 รองเพลาคานกันแกว่งหน้า อัดไขข้นรวม 2 แห่ง
5.9.1.10 รองเพลาเอียงล้อหน้า อัดไขข้นรวม 4 แห่ง (ข้างละ 2 แห่ง)
5.9.1.11 รองเพลาคานเอียงล้อหน้า อัดไขข้นรวม 2 แห่ง (ข้างละ 1 แห่ง)
5.9.1.12 รองเพลากระบอกไฮดรอลิกเอียงล้อ อัดไขข้นรวม 1 แห่ง
5.9.1.13 รองเพลาสลักล้อ (KING PIN) อัดไขข้นรวม 4 แห่ง (ข้างละ 2 แห่ง)
5.9.1.14 รองเพลาจุดหมุนกระบอกไฮดรอลิกเอียงล้อ อัดไขข้นรวม 1 แห่ง
5.9.2 การปรนนิบัติบ ารุงทุก 100 ชั่วโมงหรือ 2 สัปดาห์
5.9.2.1 ระบบไฮดรอลิก ตรวจระดับ,สภาพต่าง ๆ ในระบบ (จอดรถให้ได้ระดับ,ลดอุปกรณ์
ต่าง ๆ วางลงบนพื้น ระดับน ้ามันไฮดรอลิกจะอยู่ที่ระดับ "FULL" ที่ช่องมองหลอดแก้ว)
5.9.2.2 แบตเตอรี่ ตรวจสภาพ,ระดับน ้ายา (สูงจากแผ่นธาตุ 3/8 นิ้ว) ท าความสะอาด
ขั้วแบตเตอรี่และรูระบายของจุกปิด
5.9.2.3 จุดหมุนหักกลางล าตัวด้านบน อัดไขข้น 1 หัวรับไข
5.9.3 การปรนนิบัติบ ารุงทุก 250 ชั่วโมงหรือประจ าเดือน
5.9.3.1 เครื่องก าเนิดไฟฟ้าและสายพาน ตรวจสภาพ,ปรับตามความจ าเป็น
(สายพานหย่อนไม่เกิน 1/2 นิ้ว เมื่อออกแรงกด 25 ปอนด์)
5.9.3.2 รองเพลาแกนพัดลม อัดไขข้น 1 หัวรับไข
5.9.3.3 ห้องเฟืองเปลี่ยนความเร็วและห้องเฟืองท้าย ตรวจวัดระดับน ้ามัน,การรั่วซึม
5.9.3.4 ห้องโซ่ขับ (2 ห้อง) ตรวจวัดระดับน ้ามัน,การรั่วซึม (ขณะรถจอดได้ระดับ)
5.9.3.5 กระบอกไฮดรอลิกเยื้องศูนย์วงกลมใบมีด อัดไขข้น 2 หัวรับไข