Page 21 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 21
1-14
5.6 ลำดับขั้นในการฟื้นฟู
เพื่อที่จะเป็นการช่วยในการวางแผนและการกอสร้างจริง ๆ ของงานต่าง ๆ ที่จะต้องทำนั้น
่
ปัญหาในการสร้างท่าเรือใหม่และการฟื้นฟูท่าเรือ แยกได้เป็น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นนี้ประกอบด้วยการลาดตระเวน การล้างไอพษ การกวาดล้างสิ่งปรักหักพง ทุ่น
ิ
ั
ระเบิดและกับระเบิด การขนถ่ายสัมภาระด้วยเครื่องอำนวยความสะดวกขนาดย่อม ให้สำเร็จก่อนโดยใช้
รถบรรทุกสะเทินน้ำสะเทินบก ขนาด 2.5 ตัน
เรือขนถ่ายและเรือบรรทุกขนาดย่อมที่มีลาดติด และการเตรียมการเกี่ยวกับแผนภูมิ
ความสามารถของท่าเรือ
1.1 การวางแผนนั้น จะต้องกระทำก่อนที่จะเข้าสู่ท่าเรือ
ิ
ภายหลังที่ได้เข้าสู่ท่าเรือแล้วจะต้องทำการสำรวจเพื่อจะพจารณาว่า
ู
ข้อสันนิษฐานที่ได้วางแผนไว้แล้ว มีความถกต้องเพียงใด แล้วจึงทำแผนเกี่ยวกับการสร้างใหม่ทันที ทั้ง 2
อย่าง นี้ จะต้องกระทำโดยเร็วที่สุดที่จะทำได้ การลาดตระเวณนี้ จะต้องรวมทั้ง
- การสำรวจบริเวณพื้นที่ด้านทะเลเพื่อพิจารณาว่า งานที่ต้องกระทำนั้น มี
อะไร ที่จะต้องเพิ่มเติมอกบ้าง การสำรวจนี้ไม่ทำเฉพาะโครงสร้างที่มีอยู่ริมน้ำทั้งหมดเท่านั้น ควรรวมทั้ง
ี
เครื่องมือที่จะใช้ในการรบ สัมภาระหนักด้วย ว่ามีสภาพเป็นอย่างไร เช่น ปั้นจั่นโครงที่มีอยู่กับท่าเรือแล้วเป็น
ต้น และควรจะได้รวมทั้งพิจารณาพื้นที่ ที่มีทุ่นระเบิด พนที่อันตรายและเครื่องกีดขวางบนบกและใต้น้ำ ซึ่ง
ื้
อาจเป็นสิ่งขัดขวางการสร้างใหม่ได้
- สำรวจถนน ทางรถไฟ และสะพานต่าง ๆ ที่มีอยู่ในบริเวณท่าเรือ
- สำรวจพื้นที่ที่จะใช้เป็นคลังได้ และเครื่องอำนวยความสะดวกอื่น ๆ
- ประเมินค่าสิ่งอุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ข้าศึกได้ทิ้งไว้ ทั้งทางคุณภาพ
และจำนวนที่จะมีให้ เผื่อว่าจะใช้ในงานนี้ได้ ตัวอย่างอันดีที่เห็นก็คอ การพิจารณาจำนวนเหล็ก ซีเมนต์ และ
ื
วัสดุก่อสร้างสำหรับถนนซึ่งได้พบและใช้นั้นนับว่าเเป็นข้อได้เปรียบอย่างยิ่ง
- การพิจารณาระบบการประปาและการแจกจ่ายน้ำประปาท้องถิ่น และ
คุณภาพของน้ำซึ่งเรื่องนี้จะต้องทำการประสานกับฝ่ายเสนารักษ์ด้วย
- การประเมินค่าของแรงงานพลเรือน และเชลยศึกที่จะให้ได้ (การ
สร้างใหม่ในตอนแรกที่นั้น ได้เชลยศึกมาหลายพันและเมื่อได้ทำการคดเลือกตามอาชีพที่ตนสันทัดแล้ว
ั
ปรากฏว่าเป็นช่างไม้ ช่างไฟฟา ช่างต่อท่อ ช่างก่อหิน และพลประจำเครื่องมือต่าง ๆ รวมทั้งสินกว่า 1,000 คน
้
และพวกที่เหลือก็เป็นพวกช่างฝีมือ และช่างอื่น ๆ อีกบ้าง เชลยศึกเหล่านี้ได้ใช้ในการฟื้นฟูท่าเรือ)