Page 21 - การดาดผิว
P. 21
2 - 2
4. การทดสอบสำหรับแอสฟัลต์คัทแบค
ุ
4.1 การทดสอบริน ถ้ารินได้ที่อณหภูมิ 77 ํ ฟ. และละลายในปิโตรเลียมเป็นแอสฟัลต์คัทแบค แต่
ี
เราสามารถหาขนาดความหนืดของคัทแบคได้อกด้วย โดยการเปรียบเทียบการไหลกับวัสดุสามัญ เช่น น้ำ,
น้ำเชื่อม เป็นต้น
ขนาด มีความหนืดเหมอน
ื
30 น้ำ
70 น้ำเชื่อมใส
250 น้ำเชื่อม
800 น้ำอ้อย
3000 ของเหลวที่เปลี่ยนรูปยาก
4.2 การทดสอบป้าย (Smear Test) ใช้เพื่อแยก RC ออกจาก MC หรือ SC, โดยอาศัยการระเหย
ี่
เร็ว-ช้าของตัวคัตเตอร์สต๊อค (Cutterstock) เป็นหลัก โดยการป้ายตัวอย่างบาง ๆ ลงบนกระดาษทไม่ดูดซึมน้ำ
ทิ้งไว้ 2-3 นาที เอานิ้วมือแตะรอยที่ป้าย ถ้าติดนิ้วและยกขนไปได้ เป็น RC และด้านหลังไม่มีรอยซึมทะลุ
ึ้
กระดาษด้วย, สำหรับ MC และ SC จะซึมทะลุกระดาษไปด้านหลัง และไม่ติดมออย่าง RC
ื
4.3 การทดสอบเผาแล้วดมกลิ่น (Heat - Order Test) ใช้แยก MC และ SC ออกจากกันซึ่งชนิดหนึ่ง
ี
มีน้ำมันก๊าสเป็นคัทเตอร์สต๊อค และอกชนิดหนึ่งมีดีเซลหรือน้ำมันประเภทระเหยตัวช้าเป็นคัตเตอร์สต๊อค การทำ
โดยให้ความร้อนแก่ตัวอย่าง เพื่อให้คัตเตอร์สต๊อคแสดงตัวออกมาในรูปของกลิ่น (ทางที่ดีควรเผาตัวอย่างใน
ภาชนะปิด)
- ถ้าเป็น MC จะมีกลิ่นฉุนแรง ๆ ของปิโตรเลียม หรือน้ำมันก๊าดชัด ๆ
- ถ้าเป็น SC จะมีกลิ่นอ่อน ๆ ของน้ำมันเครื่องร้อน ๆ (Hot motor oil)
5. การทดสอบแอสฟัลต์อีมัลชั่น
5.1 การทดสอบสี (Color Test) แอสฟัลต์อีมัลชั่น ปกติจะมีสีน้ำตาลอ่อนปนดำ
ี
5.2 การทดสอบผสมน้ำ (Water-Mixing Test) อมัสชั่น สามารถผสมเข้ากับน้ำได้อย่าง
สม่ำเสมอ (การทดสอบนี้ให้ผลชัดมาก เพราะบิทูมินัสอื่นไม่ผสมกับน้ำ)
5.3 การทดสอบดูเปลวไฟ (Flame Test) อีมัลชั่น จะไม่ติดหรือลุกเป็นไฟ เมื่อนำไฟมาจี้หรืออาจ
เป็นได้เพียงติด ๆ ดับ ๆ เท่านั้น