Page 45 - Way&Airfield
P. 45
3-10
ตัวอย่างที่ 3.2 การออกแบบโค้งไม่สมมาตร
กําหนด g = +2.5 % , g = -3.0 % PVI อยู่ที่ Sta.21.325 มีค่าระดับเท่ากับ 42.200 เมตร
1
2
ความยาวโค้ง (L) = 180 เมตร ให้ l = 80 เมตร l = 100 เมตร ต้องการหาค่าระดับบนโค้งของสถานี
2
1
ระยะเต็ม (full Station) ทุกช่วง 25 เมตร
วิธีทํา
ระยะห่างทางตั้งของโค้งจากจุดตัดโค้งมายังจุดยอดโค้ง (e)
e = ( g - g ) l l / 200L = {[( -3.0 ) - ( +2.5 ) ] ( 80 ) ( 100 )} / 200 ( 180 )
2
1
1 2
= -1.222 เมตร
ออฟเซท ค่าระดับบน ค่าระดับ
X i ตรวจสอบความ
Station y =(X/l) e เส้นสัมผัส ตามแนว
2
2
ม. (X/l) i i i แตกต่างสองครั้ง
i i
ม. ม. โค้ง
PVC21+245 0.000 0.0000 0.000 40.200 40.200
21+250 5.000 0.0039 -0.005 40.325 40.320
+0.458
21+275 30.000 0.1406 -0.172 40.950 40.778 -0.239
+0.219
21+300 55.000 0.4727 -0.578 41.575 40.997 -0.238
PVI 21+325 80.000 1.0000 -1.222 42.200 40.978 -0.109
PVI 21+325 100.000 1.0000 -1.222 42.200 40.978
-0.215
21+350 75.000 0.5625 -0.687 41.450 40.763 -0.154
-0.369
21+375 50.000 0.2500 -0.306 40.700 40.394 -0.151
21+400 25.000 0.0625 -0.076 39.950 39.874 -0.520 -0.154
PVT21+425 0.000 0.0000 0.000 39.200 39.200 -0.674
หมายเหตุ ผลความแตกต่างครั้งที่สอง สําหรับแต่ละข้างของจุด PVI จะต้องมีค่าคงที่จาก
ตัวอย่างช่วง PVC ถึง PVI ประมาณ -0.24 ช่วง PVI ถึง PVT ประมาณ -0.15 สําหรับทศนิยมตําแหน่งที่
สามไม่คงที่เนื่องจากการปัดค่าในการคํานวณ