Page 44 - Way&Airfield
P. 44
3-9
ตัวอย่างที่ 3.1 การออกแบบโค้งสมมาตร
เส้นความลาดชัน -1.5 % ตัดกับเส้นความลาดชัน +2.0 % ที่ Sta.22+050 ซึ่งมีค่าระดับ 18.520
เมตร ความยาวของโค้งแนวทางดิ่งเท่ากับ 200 เมตร ต้องการทราบค่าระดับบนโค้งที่แต่ละสถานีซึ่งห่างกัน
25 เมตร
วิธีทํา
(1.)ระยะห่างทางตั้งของโค้งจากจุดตัดโค้งมายังจุดยอดโค้ง
e = AL / 800
= ( g - g ) L / 800
2
1
= [( +2.0) - ( -1.5 )] 200 / 800 = +0.875 เมตร
(2.)ระยะห่างทางราบมายังจุดกลางโค้ง l = L / 2 (เฉพาะโค้งสมมาตร) = 100 เมตร
ค่าระดับบน
X ออฟเซท ค่าระดับ ตรวจสอบความ
Station เส้นสัมผัส
2
2
ม. (X/l) Y=(X/l) e ตามแนวโค้ง แตกต่างสองครั้ง
ม.
PVC21+950 0 0.0000 0.000 20.020 20.020 -0.320
21+975 25 0.0625 +0.055 19.645 19.700 +0.109
-0.211
22+000 50 0.2500 +0.219 19.270 19.489 +0.109
-0.102
22+025 75 0.5625 +0.492 18.895 19.387 +0.110
PVI 22+050 100 1.0000 +0.875 18.520 19.395 +0.008 +0.109
+0.117
22+075 75 0.5625 +0.492 19.020 19.512 +0.110
22+100 50 0.2500 +0.219 19.520 19.739 +0.227 +0.109
22+125 25 0.0625 +0.055 20.020 20.075 +0.336 +0.109
PVT22+150 0 0.0000 0.000 20.520 20.520 +0.445
หมายเหตุ สําหรับช่วงห่างของสถานี (station) ที่เท่ากัน ค่าความแตกต่างครั้งที่สองของค่าระดับ
จะมีค่าคงที่ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของโค้งพาราโบลาที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของโค้งแนวดิ่ง