Page 34 - Way&Airfield
P. 34
2-12
ตัวอย่างที่ 2.4 การหาค่าต่าง ๆ ของการวางโค้งวงกลมด้วยวิธีเบี่ยงเบน
กําหนด ∆ = 36° - 30.0′ จุด P.I. อยู่ที่ STA. 4 + 678.900 ทําการวัดค่า E ในสนามจากจุด P.I.
ถึงกลางถนนที่มีอยู่เดิม = 13.20 ม. ต้องการทราบข้อมูลสําหรับส่วนต่าง ๆ ของโค้ง รวมทั้งค่ามุมเห และ
คอร์ดสําหรับส่วนโค้ง 25 เมตร
วิธีทํา
ลําดับขั้นตอนในการคํานวณ
(1) หาค่า D ให้เหมาะสมที่จะวางโค้งเข้าแนวถนนเดิม
D = 1° , T = 5729.578 tan (∆ / 2) = 5729.578 tan ( 36° - 30′.0 / 2) = 1889.331
D = 1° , E = T. tan (∆ / 4) = 1889.33148 tan ( 36° - 30′ .0 / 4) = 303.46
D = E ( เมื่อ D = 1°) / E ( ในสนาม ) = 303.4674528 / 13.20 = 22.98995895°
= 22° - 59′ - 23′′ เลือกใช้ D = 23°
(2) คํานวณค่าต่าง ๆ ของโค้ง
R = 5729.578 / D = 5729.578 / 23 = 249.112
T = R tan (∆ / 2) = 249.1122 tan ( 36° - 30′.0 / 2) = 82.145
E = T tan( ∆ / 4) = 82.145 tan ( 36° - 30′ .0 / 4) = 13.194
L = ∆ x 100 / D = ( 36° - 30′ .0 ) x 100 / 23 = 158.696
P.C. STA = P.I. - T = ( 4 + 678.900 ) - 82.145 = 4 + 596.755
P.T. STA = P.C. + L = ( 4 + 596.755 ) + 158.696 = 4 + 755.451
(3.) พิจารณาจุดอื่น ๆ ที่จะวางบนแนวโค้ง
ถัดจากจุด P.C. ( 4 + 596.755 ) ก็จะเป็น 4 + 600, 4 + 625, 4 + 675, 4 + 700,
4 + 725, 4 + 750 รวมทั้งหมด 7 จุด จากนั้นก็เป็นจุด P.T. ซึ่งเป็นจุดสุดท้ายบนโค้งคือจุด4 + 755.451
สําหรับ STA. อันแรกของส่วนที่เป็นเส้นตรงบนแนวทางต่อจากนี้ก็คือ 4 + 755
(4.) คํานวณมุมเบี่ยงเบนของจุดต่าง ๆ บนโค้ง
STA = 4 + 600 มีคอร์ดยาว = 600 - 596.755 = 3.245 เมตร
d = 0.005 c x D = 0.005 x 3.245 x 23 = 0.373175° = 0° - 22 .4′
1
STA. 4 + 625 มีคอร์ดยาว = 625 - 600 = 25 เมตร
d = 0.005 c x D = 0.005 x 25 x 23 = 2.875° = 2° - 52.5′
2
ที่จุดสุดท้าย P.T. (4 + 755.451)
STA. 4 + 755.451 มีคอร์ดยาว = 755.451 - 750 = 5.451 เมตร
d = 0.005 c x D = 0.005 x 5.451x 23 = 0.626865° = 0° - 37.6′
3