Page 29 - Way&Airfield
P. 29

2-7

               ตัวอย่างที่ 2.2 การออกแบบโค้งวงกลม

                      ทางโค้งที่บริเวณ กม. 5 + 320.15 ทางสายลําปาง - แจ้ห่ม ทางโค้งของถนน มีค่ามุม∆ 23°10′

               LT, E = 20 เมตร จงคํานวณรายการโค้งตามมาตรฐานทางหลวงจังหวัด F4
               วิธีทํา

               (1) หารัศมีจากระยะภายนอก            E      = R [sec (∆/2) – 1]

                                                          = R { [1 / cos(∆/2) ] – 1 }

                                                   20     = R { [1 / cos (23°10′/2) ] – 1 }

                                                          = R { [1 / cos (11°35′) ] – 1 }

                                                          = R [ (1 / 0.9796) – 1 ]

                                                   20     = R (1.0208 – 1)
                                                   R      = 20 / 0.0208         = 961.54 ใช้ 962 ม.

               (2) องศาความโค้ง                    D       = 5729.58 / R

                                                   D       = 5729.58 / 962      = 5.96° ใช้ค่า 6°

               (3) รัศมีใช้งาน(รัศมีจริง)               R       = 5729.58 / 6      = 954.930 ม.

                (4) ระยะภายนอก                     E       = R [sec (∆/2) – 1]

                                                          = 954.930 (0.0208)  = 19.863 ม.

               (5) ระยะสัมผัส                      T      = R tan  (∆/2)

                                                          = R tan (23°10′/ 2)

                                                          = R tan (11°35′)
                                                          = 954.930 x 0.2050  = 195.761ม.

               (6) ความยาวโค้ง                     L      = 100 ∆ / D


                                                          = 100 x (23°10′/ 6°)  = 386.111 ม.
                                                                   2
               (7) อัตราการยกโค้ง                  e      = 0.004 V  / R
                        เลือกใช้ความเร็วออกแบบ;V  = 80 กม./ชม.

                                                                      2
                                                   e      = 0.004 ( 80  ) / 954.930    = 0.027 ม./ม.
               (8) จุดต้นโค้ง                    PC STA   = PI STA – T

                                                          = (5+320.150) – 195.761      = 5+124.389

               (9) จุดปลายโค้ง           PT STA   = PC STA + LC

                                                          = (5+124.389) + 386.111      = 5+510.500
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34