Page 32 - Way&Airfield
P. 32
2-10
(3)ระยะภายใน E = R [sec(∆ / 2) – 1]
= R [1/cos(∆ / 2) – 1]
= 545.674{[1/cos (24° 15′/2)] – 1}
= 545.674[(1/0.9777) – 1]
= 545.674 (1.0228 –1) = 12.441 เมตร
(4)ระยะภายนอก M = R [1-cos (∆ / 2) ]
= 545.674 [1 - cos (24° 15′/ 2)]
= 545.674 (1 – 0.9777) = 12.169 เมตร
(5)ความยาวโค้ง LC = 100 ( ∆ / D )
= 100 (24°15′ /10.5°)
= 100 (24.25° /10.5°) = 230.952 เมตร
(6)จุดต้นโค้ง PC STA = PI STA – T
=(37+932.967)–117.211 = 37+815.756
(7) จุดปลายโค้ง PT STA = PC STA + L
=(37+815.756)+230.952 = 38+046.708
( หมุดของแต่ละสถานี (station) ห่างกันทุก ๆ 25 เมตร )
หาส่วนโค้งย่อย
ส่วนโค้งย่อย a ซึ่งเริ่มต้นจากจุด PC.(Sta. 37 + 815.756) ถึงหมุดแรกบนโค้ง
1
(Sta. 37 + 825) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 9.244 เมตร รองรับมุมที่จุดศูนย์กลาง d ; ส่วนโค้ง a = 25.000 เมตร
1
รองรับมุมที่จุดศูนย์กลาง = d ; ส่วนโค้งย่อย a ซึ่งเริ่มต้นจากหมุดอันสุดท้ายบนโค้ง (Sta. 38 + 025)
2
ไปยังจุด PT. (Sta. 38 + 046.708) มีค่า ซึ่งเท่ากับ 21.708 เมตร รองรับมุมที่จุดศูนย์กลาง = d
2
หาค่ามุมเบี่ยงเบน หาค่ามุมเบี่ยงเบนของส่วนโค้งย่อย a ซึ่งเท่ากับ d / 2
1
1
d = D x 9.244 / 100 = 0.970620°
1
∴ d / 2 = 0.485310° = 0° 29′ 07.1″
1
หาค่ามุมเบี่ยงเบนระหว่างหมุด ซึ่งเท่ากับ d / 2
d = D x 25 / 100 = 2.625°
∴ d / 2 = 1.3125° = 1° 18′ 45″
หาค่ามุมเบี่ยงเบนของส่วนโค้งย่อย a ซึ่งเท่ากับ d / 2
2
2
d = D x 21.708 /100 = 2.279340°
2
∴ d / 2 = 1.139670° = 1° 08′ 22.8″
2