Page 28 -
P. 28

2-9

                              ถ้าวัสดุไม่หักแสดงว่ามีโมเมนต์ต้านทาน  ( M  )  เพียงพอซึ่ง
                                                                    R
                                                  2
                                     M   =  fb x bd / 6    (ไม้เหลี่ยม)
                                       R
                                                                                  2
                                                         2
                                            =   ( 2,400 x b x d  ) / ( 1,000 x 12 x 6 )  = bd  / 30   คิป-ฟุต
                              และ    M   =  fb x d /10    (ไม้กลม)
                                                3
                                       R
                                            =  ( 2,400 x d  ) / ( 1,000 x 12 x 10 )   =  d /50
                                                                               3
                                                     3
                                                3
                                            =  0.02d   คิป-ฟุต
                              และ   M   =  fb x di ( Af + Aw/6 )  (เหล็ก)
                                       R
                                              =  ( 27,000 x di )  ( Af + Aw / 6 ) / ( 1,000 x 12 )

                                            =  2.25 di ( Af + Aw/6 )  คิป-ฟุต

                      4.3 แรงเฉือน ( Shear )
                              พื้นก็ดีคานหรือตงก็ดี เมื่อมีน ้าหนักมากระท าดังกล่าวจะเกิดการแตกหักได้โดยโมเมนต์ดัด

               แล้วยังอาจฉีกขาดไปพร้อม ๆ กันด้วยถ้าหน้าตัดไม่พอจะรับแรงเฉือนนั้น          ซึ่งเราใช้สัญลักษณ์ว่า ( V )

               การเกิดแรงเฉือนนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีแรงภายนอกมากระท าเช่นล้อรถแล่นมาทับบนพื้นตรงเกือบถึงตงที่รองรับ

               ดังรูป

                                                รูปที่ 2.7  การเกิดแรงเฉือน
                                        P












               หรือเกิดการฉีกขาดของตงเมื่อล้อเลื่อนมาทับตรงจุดที่ใกล้กับคานที่รองรับก็เป็นได้    ส าหรับแรงเฉือนที่เกิด
               จากน ้าหนักจร ( V )    ถ้าเป็นวัสดุชนิดไม้ค่าของแรงเฉือนจะลดลงเหลือเพียง 3P / 4 เท่านั้น เพราะขณะที่
                               LL
               น ้าหนักทับอยู่ไม้จะอ่อนตัวลง ท าให้น ้าหนักเลื่อนไถลออกมาทางข้างเสีย P / 4  ส่วนถ้าวัสดุเป็นเหล็กเมื่อมี

               น ้าหนักมาทับจะไม่อ่อนตัว ดังนั้นค่าของแรงเฉือนจะมีค่าเท่ากับ  P    ส าหรับเครื่องหมายที่เป็นสัญลักษณ์

               แทนแรงเฉือนคือ  V , V  และ V และจะมีค่าดังนี้
                                LL
                                            I
                                    DL
                                     V     =   3P / 4         ( ไม้ )
                                      LL
                                     V    =    P             ( เหล็ก )
                                          LL
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33