Page 24 -
P. 24
2-5
3 แผ่นริมนอกทั้งคู่ต้องอยู่ใต้เสาริมนอกทั้งคู่ด้วย ส่วนแผ่นที่เหลือไม่
จ าเป็นต้องอยู่ใต้เสาแต่ต้องจัดระยะให้ห่างเท่ากัน
4 ความยาวของแผ่นกันทรุดต้องค านวณหา เพื่อให้มีขนาดเพียงพอรับ
น ้าหนักร่วมกับลักษณะของดินที่สร้างได้ หรืออาจจะใช้กฎในสนามพิจารณาคือ
- ความยาวของแผ่นกันทรุดเท่ากับ 8 เท่าความหนาของแผ่นกัน
ทรุดเมื่อความสามารถรับน ้าหนักของดินเท่ากับหรือน้อยกว่า 4 ตัน ต่อตารางฟุต
- ความยาวของแผ่นกันทรุด เท่ากับ 6 เท่าความหนาของแผ่นกัน
ทรุดเมื่อความสามารถรับน ้าหนักของดินมากกว่า 4 ตัน ต่อตารางฟุต
- ถ้าไม่รู้ความสามารถรับน ้าหนักของดินแน่นอนให้ใช้ความยาว
ของแผ่นกันทรุดเป็นฟุต เท่ากับ 2/3 ของความหนาเป็นนิ้ว
1.2.3 แกงแนง
1.2.3.1 แกงแนงทางข้างหรือแกงแนงตามยาว ใช้ยึดระหว่างทอดเว้นทอดของ
สะพานที่ใช้ตะม่อแถวเดียวไม่เกิน 25 ฟุต และใช้ยึดระหว่างตับของตะม่อหมู่วางหรือตะม่อหมู่ปัก
1.2.3.2 แกงแนงทางระดับ ใช้ยึดภายในตับของตะม่อหมู่วาง และตะม่อหมู่ปัก
ในกรณีที่ความสูงของเสาเกินความสามารถ คือ L = 2.5 x หน้ากว้าง
1.2.3.3 ขนาดของแกงแนงอย่างน้อย คือ 2s x 12s ยาวตามต้องการ
2. แรงต่างๆ ที่เกิดแก่สะพาน
ในการออกแบบสะพานก็ดี ผู้ที่ท าการสร้างสะพานตามแบบ ที่ออกมาแล้วก็ดี, ผู้ที่ไปตรวจสะพาน
ที่ช ารุดเพื่อจัดการซ่อมแซมก็ดีจะต้องรู้ถึงก าเนิดของแรงที่กระท าต่อชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบเป็นสะพาน
และชิ้นส่วนต่าง ๆ นั้นจะเกิดอาการอย่างไร เช่น อ่อนตัว,อัดตัวจนย่น,ฉีกขาด,บิดหรือยืดออก ทั้งนี้จะได้
น ามาพิจารณาว่าความแข็ง,ความเหนียว และขนาดจะสามารถทนแรงที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้หรือไม่
น ้าหนักยานพาหนะที่แล่นบนสะพานและน ้าหนักของชิ้นส่วนที่ประกอบเป็นสะพานเองจะท าให้เกิด
แรงต่างๆขึ้นต่อชิ้นส่วนดังกล่าว ซึ่งในทางการช่างเราเรียกว่า “แรงภายนอก” เมื่อมีแรงภายนอกมากระท า
ต่อชิ้นส่วนต่างๆของสะพาน ชิ้นส่วนต่างๆนั้นก็ย่อมจะต้านทานโดยเกิดขึ้น จากในตัวของวัสดุเอง แรง
ต้านทานที่เกิดขึ้นในเนื้อวัสดุนี้ เราเรียกว่า “แรงภายใน” ซึ่งแรงนี้จะมีมากหรือน้อยย่อมขึ้นอยู่กับชนิดของ
วัสดุนั้น ซึ่งหาได้จากการทดลองมี ลองดึง,อัด,ดัดฯลฯ ดูต่าง ๆ กันแล้วหาไว้เป็นหน่วยหน้าตัด (ตาราง
นิ้ว,ตารางเซนติเมตร) ซึ่งใช้ชื่อเรียกว่า “แรงใน” ของวัสดุนั้น ๆ เมื่อเราทราบว่าวัสดุต่าง ๆ มีแรงต่อต้าน
ประจ าเป็นกี่หน่วยเท่าใด แล้วถ้าเกิดมีแรงภายนอกมากระท าต่อวัสดุชนิดนั้นจ านวนหนึ่ง เราก็จะหาได้ว่า
จะใช้วัสดุนั้นโตขนาดเท่าใด ก็จะเป็นเรื่องที่ท าได้ไม่ยาก คือน า “แรงใน” ที่สามารถรับได้ต่อหนึ่งหน่วย
ของพื้นที่ของวัสดุนั้นไปหารแรงจากภายนอกทั้งหมดที่มากระท าต่อวัสดุ ก็จะได้พื้นที่ของหน้าตัด หรือ
เรียกว่าขนาดของวัสดุนั้น ๆ ตามต้องการ สิ่งส าคัญที่เราจะต้องรู้ต่อไปก็คือชิ้นส่วนใดรับแรงภายนอก
อย่างไร เพื่อที่จะได้ค านวณโดยการใช้ “แรงใน” ให้ตรงกันหลักการอันนี้จึงออกมาเป็นสูตรต่างๆที่จะกล่าว
ต่อไป