Page 23 -
P. 23
2-4
3 ระยะห่างของเสาวางน้อยที่สุดไม่จ ากัด เพราะยิ่งชิดกันยิ่งแข็งแรงแต่
ระยะห่างมากที่สุดต้องไม่เกิน 5 เท่า หน้าสูงคานบน
4 ความสูงของเสาตะม่อวางมากกว่า 4 ฟุต ต้องใส่แกงแนงขวาง
5 ความยาวของเสาต้องไม่เกิน 30 เท่าหน้าตัดเสา (ถือด้านเล็ก) หรือ
L =2.5x หน้ากว้าง, ถ้าเสายาวเกินข้อก าหนดต้องใส่แกงแนงทางระดับที่กึ่งกลางเสา
6 ขนาดของเสาเหลี่ยมเล็กที่สุดคือ 6sx6s
7 ภายในหนึ่งตับของตะม่อวางต้องใช้เสาอย่างน้อย 4 ต้น
1.2.2.2 ตะม่อปัก
ตะม่อปักเป็นเครื่องหนุนรายทางที่สร้างบนพื้นดินอ่อน มีน ้าท่วมขัง
ส าหรับเสาของตะม่อปักควรใช้เสากลม ซึ่งมีหลักการใช้ดังนี้
1 เป็นเสาโตไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว
2 ต้องตรงไม่มีปุ่ม,ตา ถ้ามีต้องตัดออก
3 เรียวสม ่าเสมอ เส้นตรงระหว่างหัวเสากับปลายเสาต้องอยู่ในเนื้อเสา
4 เสาของตะม่อปักยาวเกิน 11 ฟุต ต้องใส่แกงแนงขวาง และแกงแนง
ขวางต้องอยู่สูงกว่าระดับน ้า
5 ความสูงของเสาวัดจากผิวดินถึงบนสุดหัวเสา
1.2.2.3 ตะม่อหมู่วาง,ตะม่อหมู่ปัก
1 ตะม่อตับเดียวความยาวระยะทอดต้องไม่เกิน 25 ฟุต ถ้ามากกว่า
ต้องสร้างเป็นตะม่อหมู่วางหรือตะม่อปัก 2 หรือ 3 แถว
2 เมื่อสร้างเป็นตะม่อหมู่ไม่ต้องใส่แกงแนงตามยาวระหว่างตะม่อ
3 ระยะห่างระหว่างแถวของตะม่อหมู่จะต้องเท่ากับ หรือมากกว่า
ระยะห่างระหว่างเสา
1.2.2.4 ตะม่อเล้าหมู
ตะม่อเล้าหมูใช้สร้างชั่วคราวทั้งบนบกหรือในน ้าก็ได้โดยใช้ไม้กลม หรือ
ไม้เหลี่ยมวางพาดซ้อนกันขึ้นไปแล้วยึดด้วยตะปู หรือเหล็กเกลียว, เมื่อต้องการซ่อมสะพาน โดยท าเป็น
ทางเบี่ยงก็ได้ ฐานของตะม่อควรจะกว้างอย่างน้อยที่สุด 1/3 ของความสูง การประกอบ อาจจะประกอบ
บนฝั่งก่อนแล้วค่อยน าลงไปในน ้าและใช้หินถ่วงลงไปเป็นต้น
1.2.2.5 แผ่นกันทรุด
แผ่นกันทรุดใช้ในกรณีที่สร้างตะม่อตลิ่งบนพื้นดินแห้งแข็ง หรือใช้กับ
ตะม่อวางแถวเดียวและหมู่วาง มีข้อก าหนดดังนี้
1 จ านวนแผ่นกันทรุดต้องใช้อย่างน้อยที่สุดเท่ากับจ านวนเสา
2 ขนาดที่เล็กที่สุดคือ หนา 3 นิ้ว กว้าง 12 นิ้ว