Page 28 - เครื่องมือช่างชั้นต้น
P. 28

2-3





                                2.3.1.3  ความสูง
                                     เฉพาะตัวรถ ( ถึงฝาปิดหม้อนํ้า )  2.16  เมตร

                                     ถึงหลังคาห้องพลประจํา        3.25  เมตร

                                     ถึงปลายท่อไอเสีย             3.35  เมตร

                                     ช่องว่างใต้ท้องรถ            0.45  เมตร

                      2.3.2 นํ้าหนัก
                                2.3.2.1 เฉพาะตัวรถเปล่า                  15,240  กก.

                                2.3.2.2 ตัวรถประกอบโครงหลังคาแบบ ROPS  15,970  กก.

                                2.3.2.3 ตัวรถประกอบหลังคา ประกอบใบมีด แบบ S และกว้านท้าย 21,070 กก.

                                2.3.2.4 นํ้าหนักกว้านท้าย                 1,370  กก.
               2.4 ความจุต่าง ๆ

                      2.4.1 ถังเชื้อเพลิง           จุ       435   ลิตร  ใช้ นํ้ามันดีเซล

                      2.4.2 ห้องเพลาข้อเหวี่ยง      จุ        27   ลิตร  ใช้นํ้ามันเครื่อง CD,SAE.40

                      2.4.3 ห้อง TORQUE, TRANSMISSION, BEVEL GEAR  และ STEERING CLUTCH จุ 70 ลิตร
               ใช้นํ้ามันเครื่อง CD.SAE.40

                      2.4.4 ห้อง FINAL DRIVE ใช้นํ้ามันเครื่อง SAE.50 ข้างละ  34  ลิตร (D7G รุ่นใหม่)

                                             ใช้ นํ้ามันเฟือง SAE.90 (D7G รุ่นเก่า)

                      2.4.5 ระบบไฮดรอลิก           จุ         79     ลิตร  ใช้นํ้ามันไฮดรอลิก SAE.30

                      2.4.6 ระบบกว้านท้าย          จุ         61    ลิตร  ใช้นํ้ามันเครื่อง CD,SAE.40
                      2.4.7 ระบบระบายความร้อน   จุ         45     ลิตร  ใช้  นํ้าสะอาด

                      2.4.8 ความจุหน้าใบมีด

                              ใบมีด  แบบเฉียง (7A)   2.83 ลบ.เมตร (3.7 ลบ.หลา)

                              ใบมีด  แบบตรง  (7S)  4.20 ลบ.เมตร (5.5 ลบ.หลา)

                      2.4.9 ความสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิง 40 ลิตร/ชั่วโมง (เมื่อเร่งเครื่องยนต์สุด)
               2.5 การใช้งานและความสามารถ

                      2.5.1 ระยะการใช้งาน

                                2.5.1.1 ระยะดันวัสดุได้ผลงานมากที่สุดไม่เกิน 90 เมตร

                                2.5.1.2 ระยะดันวัสดุไม่ควรน้อยกว่า 15 เมตร
                      2.5.2 เทคนิคการใช้งานเพื่อเพิ่มผลงาน

                                2.5.2.1 การดันวัสดุเป็นร่อง (SLOT DOZING) เมื่อใช้รถถากถางคันเดียวดันวัสดุด้วยวิธีนี้

               จะได้ผลงานเพิ่มขึ้นจากการดันปกติคันเดียว ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33