Page 70 - คอนกรีต
P. 70
3-11
์
้
่
ี
ปริมาณซเมนตที่ตองใช้ในคอนกรีตตอหนึ่งหน่วยปริมาตรย่อมได้หาได้
ึ่
ซงเท่ากับ ปริมาณน้ าจากขั้นที่ 3 หารด้วยอตราส่วนจากขั้นที่ 4
ั
อย่างไรก็ดี ถ้าก าหนดปริมาณซเมนตในหนึ่งหน่วยปริมาตรของ
์
ี
้
้
คอนกรีตมาใหก็ใหเลือกใช้ค่าที่มากที่สุดจากที่ค านวณได้หรือที่
ก าหนดให ้
3.2.6 ค านวณปริมาณวัสดุผสมหยาบ
จากตารางที่ 3.6 แสดงปริมาตรของวัสดุผสมหยาบใน
สภาพแหง และอดแน่น (dry rodded) ในส่วนผสมตอคอนกรีตหนึ่ง
ั
่
้
ึ่
หน่วยปริมาตร ซงแตกตางตามค่าโมดูลัสความละเอยดของทรายที่ใช้
ี
่
ิ
และขนาดโตที่สุดของหนที่ใช้ ปริมาณของวัสดุผสมหยาบคิดเป็น
ี
น้ าหนักมค่าเท่ากับปริมาตรของวัสดุผสมหยาบคูณด้วยหน่วยน้ าหนัก
ของวัสดุผสมหยาบนั้น
ตารางที่ 3.6 ปริมาตรของวัสดุผสมหยาบต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของ
คอนกรีต
่
่
ปริมาตรของวัสดุผสมหยาบในสภาพแห้งและอัดแนนต่อหนวย
ู
ขนาดโตสดของหิน ปริมาตร ของคอนกรีต สาหรับค่าโมดลัสความละเอียดของ
ุ
2.4 2.6 2.8 3
3/8” (10 มม.) 0.5 0.48 0.46 0.44
1/2” (12.5 มม.) 0.59 0.57 0.55 0.53
3/4” (20 มม.) 0.66 0.64 0.62 0.6
1” (25 มม.) 0.71 0.69 0.67 0.65
1 1/2” (40 มม.) 0.76 0.74 0.72 0.7
2” (50 มม.) 0.78 0.76 0.74 0.72
3” (75 มม.) 0.81 0.79 0.77 0.75
6” (150 มม.) 0.87 0.85 0.83 0.81
หมายเหตุ ค่าที่ก าหนดให้นี้ เป็นค่าส าหรับงานคอนกรีตเสริมเหล็ก
ทั่ว ๆ ไป ส าหรับงานคอนกรีตที่ท าได้ง่ายกว่า
เช่น ถนน พื้น เป็นต้น อาจเพิ่มค่าเหล่านี้ขึ้นได้อีก 10
์
เปอร์เซ็นต