Page 75 - คอนกรีต
P. 75
3-16
ปริมาณน้ าที่ต้องใช้จริง = 175 - 1152 (0.015) - 779
(0.053) = 117 กก.
้
ฉะนั้น คอนกรีต 1 ลบ.ม. ต้องใช.-
- น้ า 117 กก.
- ซีเมนต ์ 282 กก. หรือ 282 / 50 = 5.64 ถุง
- วัสดุผสมหยาบ (เปียก) 1,175 กก.
- วัสดุผสมละเอียด (เปียก) 826 กก.
- รวมน้ าหนักทั้งหมด 2,400 กก.
9. ปรับส่วนผสมจากการทดลองผสม
ิ
้
ิ
ุ
สมมตท าการทดลองผสมคอนกรีตในหองปฏิบัตการ จานวน
ึ่
0.02 ลบ.ม. ซงจะตองใช้ปริมาณวัสดุในสภาพชื้นดังนี้ น้ า 2.34 ลิตร
้
ี
์
ิ
ปูนซเมนต 5.64 กก. หน (เปียก) 23.50 กก. ทราย (เปียก) 16.52 กก.
แต่ปรากฎว่าต้องใช้น้ าผสมถึง 2.70 ลิตร ซึ่งมากกว่าที่คาดไว้เพื่อให้เกิด
ความสามารถเทได้ อย่างไรก็ตามวัดค่าความยุบตัวได้เท่ากับ 5 ซม. และ
ึ
ชั่งหาหน่วยน้ าหนักของคอนกรีตได้เท่ากับ 2,390 กก./ลบ.ม. ฉะนั้น จง
จ าเป็นต้องปรับส่วนผสมใหม่ ซึ่งท าได้ตามขั้นล าดับต่อไปนี้
9.1 หาปริมาณคอนกรีตที่ได้จริง ้
น้ าหนักรวมทั้งหมดของวัสดุที่ใช
จาก ปริมาณคอนกรีตที่ได้ =
ผสมท าคอนกรีต
หน่วยน้ าหนักของคอนกรีต
ดังนั้น ปริมาณคอนกรีตที่ได้จริง = 2.70 + 5.64 + 23.50
+ 16.52 / 2,390
= 0.0202 ม.
3
้
9.2 ปรับปริมาณน้ าที่ต้องใช
ปริมาณน้ าที่ใช้ผสมจริง = 2.70 + (1,152 x 0.015 + 779
x 0.053) (0.02) / 0.0202